Open Joint Statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces (Thai language inside)

25 Organizations and 44 Individuals signed joint-statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces

The key statement demands

  1. Min Aung Hlaing and the State Administration Council (SAC) must immediately reveal the conditions and whereabouts of Aung San Suu Kyi and U Win Myin without any condition for the sake of transparency and expressing intentions to release them following humanitarian principles, and for their health as was announced to the international society.
  2. Kim Aris should be granted permission to see his mother as a family member according to humanitarian principles.
  3. The international society, ASEAN and Thailand should condemn and protest against this action, without acknowledging legitimacy in the government led by Min Aung Hliang from now on.
  4. The international society, ASEAN and Thailand, abiding to international humanitarian principles, should revise their foreign policies with Myanmar in order to cause positive changes in the region.
  5. The international society, ASEAN and Thailand should support people in Myanmar in restoration of and transition to sustainable democracy in the country.

25 องค์กรและ 44 บุคคลร่วมลงนามในแถลงการณ์ร่วมประณาม มิน อ่อง ลายที่จะใช้นางออง ซานซู จี เป็นโลห์มนุษย์ป้องกันการโจมตีเนปิดอว์จากกองกำลังต่อต้านชาติพันธ์ุ

พวกเราเรียกร้องให้

  1. มินอองลายและกองทพัพม่าต้องเปิดเผยสถานภาพและสถานที่กักขังของออง ซาน ซูจี และอู วิน มิน โดยททันทีอย่างไม่มีเงื่อนไข
  2. คิม อีริค ควรได้รับอนุญาตในการเข้าพบแม่ของเธอในฐานะที่เป็นสมาชิกครอบครัวให้เป็นไปตามหลักมนุษยธรรม
  3. ประชาคมโลก อาเซียนและประเทศไทย ต้องประณามและคัดค้านการกระทำนี้ ทั้งไม่ยอมรับความชอบธรรมในการปกครองประเทศพม่าของ มิน ออง ลายอีกต่อไป
  4. ประชาคมโลก อาเซียนและประเทศไทยต้องมีการทบทวนท่าที นโยบายต่างประเทศต่อประเทศเมียนมาร์ ซึ่งจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคและต้องยึดมั่นในหลักการมนุษยธรรมสากล
  5. ประชาคมโลก อาเซียนและประเทศไทยต้องช่วยเหลือประชาชนพม่าในการฟื้นฟูประเทศชาติ สนับสนุนการเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตยของ เมียนมาร์อย่างยั่งยืน

Access full statement: https://drive.google.com/file/d/1wFPR3i4IifAycfUCr7nLF9byI9dPqn1Q/view?usp=sharing

RELATED POSTS

Understanding Corruption in ASEAN: A Brief 101 – “What is Corruption?”

December 9 of every year marks International Anti-Corruption Day, reminding... read more

ทำความเข้าใจคอร์รัปชันในอาเซียน ฉบับรวบรัด 101 “คอร์รัปชันคืออะไร ?”

ทำความเข้าใจอคอร์รัปชั่นในอาเซียนฉบับรวบรัด 101 “คอร์รัปชั่นคืออะไร?”  เนื่องในวันที่ 9 ธันวาคมของทุกปีถือเป็นวันต่อต้านคอร์รัปชั่นสากลที่คอยเตือนให้ทุกประเทศในภาคีของสหประชาชาติ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการขับเคลื่อนเพื่อแก้ไขปรากฎการณ์คอร์รัปชั่นที่เกิดขึ้นทั่วโลก  เนื่องจากไม่มีคำนิยามสากลของคำว่า “คอร์รัปชั่น” ทำให้คำนี้ถูกตีความและให้ความหมายที่แตกต่างกันในแต่ละบริบทของประเทศ ภูมิศาสตร์ไปจนถึงสถานะทางสังคม ในประเทศไทยคำว่าคอร์รัปชั่นมักถูกพูดถึงในบริบททางการเมือง... read more

Fight to Decriminalization on Sex Work in Thailand & the Systemic Corruption

“We are not wrong. It is the law that is... read more

Fact-Finding Humanitarian Report

"1,000 - 3,000 is the number of people who have... read more

Open Joint Statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces (Thai language inside)

25 Organizations and 44 Individuals signed joint-statement of Condemnation against... read more

ใครคอร์รัปมากกว่ากัน?

ใครคอร์รัปมากกว่ากัน? คำถามนี้คงเป็นคำถามที่ตอบได้ยาก เพราะปัญหาคอร์รัปชั่นนั้นอยู่คู่กับสังคมไทยมาโดยตลอด ทุกสถาบันในสังคมไทยล้วนมีประวัติที่เกี่ยวข้องกับการคอร์รัปชั่นทั้งนั้น แต่การคอร์รัปชั่นจะส่งผลเลวร้ายที่สุดเมื่อผู้มีอำนาจสูงสุดของรัฐเป็นผู้ทำการคอร์รัป คำถามต่อมาที่สำคัญก็คือรัฐบาลประเภทไหนที่คอร์รัปมากกว่ากัน ในบทความนี้จะเป็นผลสรุปของการศึกษาการคอร์รัปชั่นของรัฐบาลโดยเปรียบเทียบผลลัพธ์ระหว่างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งและรัฐบาลเผด็จการที่ได้อำนาจมาจากการรัฐประหาร “การเสียชีวิตของจอมพล สู่การเปิดเผยคอร์รัปชั่น” การเสียชีวิตของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชในปี 1963 ได้นำไปสู่การเปิดเผยทรัพย์สินที่ถูกถือครองอยู่จำนวน... read more

การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 4 “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน”

การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 4 “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน” หลายคนอาจจะเคยได้ยินคำว่า “กสม” หรือคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนบ้าง แต่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ถึงหลักการพื้นฐานและที่มาของ กสม และเหตุผลของการตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนในประเทศ โดยคำนิยามของ GANHRI... read more

Recommendations from “Closed Door Workshop on Advancing the Thai-Foreign Policy on Ethnic Groups Along the Thai-Myanmar Border”

Recommendations from “Closed Door Workshop on Advancing the Thai-Foreign Policy... read more