มูลนิธิศักยภาพชุมชน เข้าร่วมสืบพยานคดีจำเลยอยุกูร์ อาเด็มคาราดักและนายไมไรลี ยูซุฟู คดีระเบิดที่ศาลพระพรหม ในปี 2558

มูลนิธิศักยภาพชุมชนนำโดยนางชลิดา ทาเจริญศักดิ์ ได้เข้าร่วมสืบพยานในคดีจำเลยอุยกูร์ ระเบิดศาลพระพรหมในปี 2558 เนื่องในวันที่ 30 สิงหาคม จนถึง 2 กันยายน 2566 (2023) และได้ให้สัมภาษณ์กับสื่อสำนักข่าว Benar News ถึงข้อกังวลของอาการของอาเด็มที่จำเป็นต้องมาขึ้นศาลอาญาใต้โดยรถเข็น เนื่องจากปัญหาสุขภาพที่เรือนจำไม่สามารถจัดหาอาหารฮาลาลให้ได้

ทางทนายของจำเลยทั้งสองให้ข้อมูลว่ากระบวนการคดีความอาจจะใช้เวลาอีก 5 ปี ซึ่งเป็นกระบวนการที่ยาวนาน ทางมูลนิธิยังคงให้ความสำคัญกับสิทธิในกระบวนการยุติธรรมของจำเลยทั้งสอง โดยขอเรียกร้องให้กระบวนการยุติธรรมในการพิจารณาคดีควรสิ้นสุดโดยเร็วที่สุด รวมถึงประเทศไทยควรส่งคนอุยกูร์ที่ถูกจองจำไว้ในตรวจคนเข้าเมืองสวนพลู เรือนจำคลองเปรมและเรือนจำหลักสี่ชั่วคราว ไปยังประเทศที่สามอย่างเร็วที่สุด และยังกังวลถึงปัญหาสุขภาพภายในเรือนจำที่อาจะส่งผลในระยะยาว โดยเรียกร้องให้เรือนจำส่งหมอเพื่อเข้าไปตรวจอาการของจำเลยทั้งสองโดยเร็วที่สุด

สามารถติดตามบทความสัมภาษณ์ได้ที่สำนักข่าว Benar News
https://thadev.benarnews.org/thai/news/th-uyghur-trial-resume-08292023151314.html?fbclid=IwAR23ilJ2AWt5LjjYwvBDfYHrgdwQ8BdJvSHCu2s0dD4Oyp25ft4msPr-eJI

RELATED POSTS

Fight to Decriminalization on Sex Work in Thailand & the Systemic Corruption

“We are not wrong. It is the law that is... read more

Fact-Finding Humanitarian Report

"1,000 - 3,000 is the number of people who have... read more

Open Joint Statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces (Thai language inside)

25 Organizations and 44 Individuals signed joint-statement of Condemnation against... read more

ใครคอร์รัปมากกว่ากัน?

ใครคอร์รัปมากกว่ากัน? คำถามนี้คงเป็นคำถามที่ตอบได้ยาก เพราะปัญหาคอร์รัปชั่นนั้นอยู่คู่กับสังคมไทยมาโดยตลอด ทุกสถาบันในสังคมไทยล้วนมีประวัติที่เกี่ยวข้องกับการคอร์รัปชั่นทั้งนั้น แต่การคอร์รัปชั่นจะส่งผลเลวร้ายที่สุดเมื่อผู้มีอำนาจสูงสุดของรัฐเป็นผู้ทำการคอร์รัป คำถามต่อมาที่สำคัญก็คือรัฐบาลประเภทไหนที่คอร์รัปมากกว่ากัน ในบทความนี้จะเป็นผลสรุปของการศึกษาการคอร์รัปชั่นของรัฐบาลโดยเปรียบเทียบผลลัพธ์ระหว่างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งและรัฐบาลเผด็จการที่ได้อำนาจมาจากการรัฐประหาร “การเสียชีวิตของจอมพล สู่การเปิดเผยคอร์รัปชั่น” การเสียชีวิตของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชในปี 1963 ได้นำไปสู่การเปิดเผยทรัพย์สินที่ถูกถือครองอยู่จำนวน... read more

การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 4 “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน”

การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 4 “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน” หลายคนอาจจะเคยได้ยินคำว่า “กสม” หรือคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนบ้าง แต่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ถึงหลักการพื้นฐานและที่มาของ กสม และเหตุผลของการตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนในประเทศ โดยคำนิยามของ GANHRI... read more

Recommendations from “Closed Door Workshop on Advancing the Thai-Foreign Policy on Ethnic Groups Along the Thai-Myanmar Border”

Recommendations from “Closed Door Workshop on Advancing the Thai-Foreign Policy... read more

Human Rights Cartoon, Chapter 3 “AICHR, Inter-ASEAN Commission on Human Rights”

Get to know AICHR (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights),... read more

รากเหง้าปัญหาคอร์รัปชั่นของประเทศไทย

ปัญหาคอร์รัปชั่นเป็นปัญหาที่มักจะได้ยินมาโดยตลอดคู่ขนานกับบริบทการเมืองของไทยทุกยุคทุกสมัย ไม่ว่าในรัฐสภา ตามสื่อ หรือในหลายครั้งนั้นปัญหาคอร์รัปชั่นมักถูกอ้างให้นำไปสู่การรัฐประหารหรือยึดอำนาจ ก็ยังเป็นเรื่องยากที่จะทำความเข้าใจปัญหาบริบทคอร์รัปชั่น การเข้าใจปัญหาคอร์รัปชั่นของไทย จึงจำเป็นจะต้องย้อนไปเข้าใจถึงประวัติศาสตร์ที่มาของรากเหง้าทางวัฒนธรรมของไทย โดยผลการศึกษาหลายฉบับได้อธิบายว่าปรากฏการณ์คอร์รัปชั่นของประเทศไทยแท้จริงแล้วเกิดมาจากรากเหง้าของระบบอุปภัมภ์ ในช่วงของระบอบศักดินา (Feudal System)... read more