UNCAC at 20: Uniting Against Corruption รวมพลังต่อต้านคอร์รัปชั่น

🌐UNCAC at 20: Uniting Against Corruption 🎉 | 9 December International Anti-Corruption Day

Join us in commemorating the 20th anniversary of the United Nations Convention against Corruption (UNCAC), adopted on October 31, 2003. With 191 state parties, UNCAC stands as the world’s first legally binding anti-corruption instrument. As we celebrate, let’s reflect on positive changes driven by collective efforts.

UNCAC, a unique tool, aims to prevent and criminalize corruption, define specific acts, and promote international cooperation, asset recovery, technical assistance, and information exchange. It’s a milestone in the global fight against corruption.

The Conference of the States Parties (CoSP) serves as the main decision-making body for UNCAC. All ratifying states are automatically part of CoSP, while others can apply for observer status. The upcoming CoSP10 in Atlanta, United States, is a significant event in the global anti-corruption community. Explore the conference at 👉http://www.unodc.org/CoSP10

Save the Date for #CoSP10 on December 11–15! Let’s stand #UnitedAgainstCorruption. 📅🤝💙 #UNCAC20 #IACD2023

🌐UNCAC ปีที่ 20: รวมพลังต่อต้านคอร์รัปชั่น 🎉 | 9 ธันวาคม วันต่อต้านคอร์รัปชันสากล

ร่วมรำลึกถึงวันครบรอบ 20 ปีของ “อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านการทุจริต (UNCAC)” ซึ่งมีมติเห็นชอบอย่างเป็นเอกฉันท์เมื่อวันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2546 และมีประเทศภาคีสมาชิกทั้งหมด 191 ประเทศ UNCAC ถือเป็นตราสารต่อต้านการทุจริตที่มีผลผูกพันทางกฎหมายฉบับแรกของโลก ร่วมเฉลิมฉลองพร้อมกับร่วมกันสะท้อนคิดถึงการร่วมมือกันซึ่งจะขับเคลื่อนไปสู่การเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้น 

UNCAC เป็นเครื่องมือที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อป้องกันและปราบปรามการทุจริต ตั้งแต่กำหนดการกระทำที่นับว่าเป็นทุจริตอย่างเฉพาะเจาะจง นอกจากนี้ยังส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศ การกู้คืนสินทรัพย์ การให้ความช่วยเหลือและการแลกเปลี่ยนข้อมูล ซึ่งการเกิดขึ้นของอนุสัญญานี้นับเป็นเหตุการณ์สำคัญระดับโลกในการร่วมมือต่อสู้กับการทุจริต

การประชุม The Conference of the States Parties (CoSP) นับเป็นการประชุมที่ทำหน้าที่หลักในขับเคลื่อนการตัดสินใจของ UNCAC ประเทศที่ให้สัตยาบันทั้งหมดจะเป็นส่วนหนึ่งของ CoSP โดยอัตโนมัติ ในขณะที่ประเทศอื่นๆ สามารถสมัครเพื่อเป็นผู้สังเกตการณ์ได้ งาน CoSP10 ที่กำลังจะเกิดขึ้น ณ แอตแลนตา ประเทศสหรัฐอเมริกา การประชุมซึ่งถือว่าสำคัญต่อกลุ่มต่อต้านการทุจริตทั่วโลก โดยสามารถติดตามการประชุมผ่านทาง  👉 http://www.unodc.org/CoSP10

อย่าพลาดวันสำคัญ #CoSP10 วันที่ 11-15 ธันวาคมนี้! มายืนหยัด #ร่วมต่อต้านคอร์รัปชัน ไปด้วยกัน #UnitedAgainstCorruption  📅🤝💙 #UNCAC20 #IACD2023

RELATED POSTS

Fight to Decriminalization on Sex Work in Thailand & the Systemic Corruption

“We are not wrong. It is the law that is... read more

Fact-Finding Humanitarian Report

"1,000 - 3,000 is the number of people who have... read more

Open Joint Statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces (Thai language inside)

25 Organizations and 44 Individuals signed joint-statement of Condemnation against... read more

ใครคอร์รัปมากกว่ากัน?

ใครคอร์รัปมากกว่ากัน? คำถามนี้คงเป็นคำถามที่ตอบได้ยาก เพราะปัญหาคอร์รัปชั่นนั้นอยู่คู่กับสังคมไทยมาโดยตลอด ทุกสถาบันในสังคมไทยล้วนมีประวัติที่เกี่ยวข้องกับการคอร์รัปชั่นทั้งนั้น แต่การคอร์รัปชั่นจะส่งผลเลวร้ายที่สุดเมื่อผู้มีอำนาจสูงสุดของรัฐเป็นผู้ทำการคอร์รัป คำถามต่อมาที่สำคัญก็คือรัฐบาลประเภทไหนที่คอร์รัปมากกว่ากัน ในบทความนี้จะเป็นผลสรุปของการศึกษาการคอร์รัปชั่นของรัฐบาลโดยเปรียบเทียบผลลัพธ์ระหว่างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งและรัฐบาลเผด็จการที่ได้อำนาจมาจากการรัฐประหาร “การเสียชีวิตของจอมพล สู่การเปิดเผยคอร์รัปชั่น” การเสียชีวิตของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชในปี 1963 ได้นำไปสู่การเปิดเผยทรัพย์สินที่ถูกถือครองอยู่จำนวน... read more

การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 4 “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน”

การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 4 “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน” หลายคนอาจจะเคยได้ยินคำว่า “กสม” หรือคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนบ้าง แต่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ถึงหลักการพื้นฐานและที่มาของ กสม และเหตุผลของการตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนในประเทศ โดยคำนิยามของ GANHRI... read more

Recommendations from “Closed Door Workshop on Advancing the Thai-Foreign Policy on Ethnic Groups Along the Thai-Myanmar Border”

Recommendations from “Closed Door Workshop on Advancing the Thai-Foreign Policy... read more

Human Rights Cartoon, Chapter 3 “AICHR, Inter-ASEAN Commission on Human Rights”

Get to know AICHR (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights),... read more

รากเหง้าปัญหาคอร์รัปชั่นของประเทศไทย

ปัญหาคอร์รัปชั่นเป็นปัญหาที่มักจะได้ยินมาโดยตลอดคู่ขนานกับบริบทการเมืองของไทยทุกยุคทุกสมัย ไม่ว่าในรัฐสภา ตามสื่อ หรือในหลายครั้งนั้นปัญหาคอร์รัปชั่นมักถูกอ้างให้นำไปสู่การรัฐประหารหรือยึดอำนาจ ก็ยังเป็นเรื่องยากที่จะทำความเข้าใจปัญหาบริบทคอร์รัปชั่น การเข้าใจปัญหาคอร์รัปชั่นของไทย จึงจำเป็นจะต้องย้อนไปเข้าใจถึงประวัติศาสตร์ที่มาของรากเหง้าทางวัฒนธรรมของไทย โดยผลการศึกษาหลายฉบับได้อธิบายว่าปรากฏการณ์คอร์รัปชั่นของประเทศไทยแท้จริงแล้วเกิดมาจากรากเหง้าของระบบอุปภัมภ์ ในช่วงของระบอบศักดินา (Feudal System)... read more