People’s Empowerment Foundation https://pefthailand.org/ We believes a world where democracy and human rights are achieved for all, and local communities are respected and included in policy-making processes. Mon, 09 Dec 2024 13:44:36 +0000 en-US hourly 1 https://wordpress.org/?v=6.7.1 https://pefthailand.org/wp-content/uploads/2023/07/Logo-3-85x85.png People’s Empowerment Foundation https://pefthailand.org/ 32 32 Understanding Corruption in ASEAN: A Brief 101 – “What is Corruption?” https://pefthailand.org/understanding-corruption-in-asean-a-brief-101-what-is-corruption/ https://pefthailand.org/understanding-corruption-in-asean-a-brief-101-what-is-corruption/#respond Mon, 09 Dec 2024 13:44:33 +0000 https://pefthailand.org/?p=9236 December 9 of every year marks International Anti-Corruption Day, reminding all United Nations member countries of the importance of addressing and combating corruption worldwide. The definition of “corruption” is interpreted and defined differently in various national, geographical, and social contexts. In Thailand, the term corruption is often mentioned in political contexts and is frequently used […]

The post Understanding Corruption in ASEAN: A Brief 101 – “What is Corruption?” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>

December 9 of every year marks International Anti-Corruption Day, reminding all United Nations member countries of the importance of addressing and combating corruption worldwide.

The definition of “corruption” is interpreted and defined differently in various national, geographical, and social contexts. In Thailand, the term corruption is often mentioned in political contexts and is frequently used to attack and undermine the credibility of opposing parties.

But what else do we truly know about corruption?

Join us in exploring and understanding corruption at the international level and regional ASEAN level. What do we know and what do we not know about how corruption affects us directly and indirectly?

Corruption still lacks a universal definition. As a result, each government and international organization has designed its own definition of corruption. Most definitions tend to describe corruption as “the misuse of power for personal gain by those who should not get benefit.” The minor difference between those definitions is in line with the emphasis on the degree and level of perpetrators which public sectors referring to public officials within power of state. These definitions are similar with definition designed by the World Bank and OECD.

 One of the most commonly used definitions comes from Transparency International (TI), which defines corruption as “the abuse of entrusted power for private gain.”

In Thailand, the obvious definition can be found in the Organic Act on Anti-Corruption B.E. 2561 (2018), which defines corruption as misconduct of individuals, particularly focusing on those holding positions within government duties.

What these definitions fail to address is how corruption relates to social structures. Most emphasize individual actions of abusing power for personal benefit but not much touch on aspects of democracy, governance, or broader political, social, and administrative issues.

What About you? How do you define corruption?

In Thailand, corruption is often brought up in the context of political accusations. However, in reality, corruption has long-term negative impacts across multiple dimensions and directly and indirectly affects everyone in society. These impacts range from issues of human rights, the environment, poverty, impunity, violence and armed conflict, transnational crime, and hatred among human beings.

At first glance, these problems may seem unrelated to corruption. But upon closer consideration, many of the factors leading to these issues stem from neglect or unjust use of power in various contexts.

For example, scammers and call center organizations would not be able to exist if the states took serious action through laws and enforcement. Transnational crimes would not be able to operate cross-border as “gray-zone businesses” if governments cooperated to restrict such actions. In the justice system as well, if these processes were transparent and capable of bringing wrongdoers to justice in accordance with the law, crime rates would have decreased.

What about you? How do you think corruption harms yourself and society?

The United Nations Convention against Corruption (UNCAC)
The UNCAC is the only legally binding international treaty in the globe dedicated to combating corruption. Currently, 191 countries globally are parties to the convention (out of the 193 UN member states). The focus is on fostering international cooperation to address corruption at a global level.

It also features a monitoring mechanism for member countries called the “Conference of the States Parties to the United Nations Convention against Corruption (CoSP).” However, this mechanism involves only intergovernmental collaboration and lacks engagement with civil societies, businesses or other organizations.

The UNCAC
The UNCAC does not explicitly define “corruption,” but it identifies acts that are considered corruption in Chapter 3 of the convention.

Acts considered corruption as outlined in the convention include:

  1. Bribery of national public officials (Article 15)
  2. Bribery of foreign public officials and officials of public international organizations (Article 16)
  3. Embezzlement, misappropriation or other diversion of property by a public official (Article 17)
  4. Trading in influence (Article 18)
  5. Abuse of functions (Article 19)
  6. Illicit enrichment (Article 20)
  7. Bribery in the private sector (Article 21)
  8. Embezzlement of property in the private sector (Article 22)
  9. Laundering of proceeds of crime (Article 23)
  10. Concealment (Article 24)
  11. Obstruction of justice (Article 25)

Once a state party signs the convention, it is expected to enact laws to prevent and control such behavior. However, in practice, while many countries attempt to legislate against corruption, the forms of corruption often evolve, adapting to legal frameworks and becoming more complex and harder to detect.

What do you think should be done to stop these corrupt practices?

Corruption Assessment
In reality, assessing corruption is “difficult” because corrupt acts are often carried out covertly to avoid detection. Most innovative methods for evaluating corruption rely on “perceptions, awareness, understanding, and feelings” about the overall societal situation regarding corruption.

Transparency International (TI) is a well-known international organization assessing corruption, which evaluates global government corruption through surveys of opinion and expert in each country. This is known as the “Corruption Perceptions Index (CPI).” Most ASEAN countries score below the global average (except Singapore) and tend to struggle to make significant progress in addressing corruption.

In Thailand, the National Anti-Corruption Commission (NACC) has developed a domestic corruption perception measure called the “Integrity and Transparency Assessment (ITA),” which assesses the ethics and transparency of government agencies. A comparison between CPI and ITA scores shows differing results. CPI, evaluated by an international organization, suggests that Thailand’s corruption situation remains stagnant without improvement. However, ITA, assessed domestically, indicates that Thailand’s corruption situation has been improving steadily every year.

What do you think about corruption perception scores? Which assessment is more credible, CPI or ITA?

In regional anti-corruption efforts, ASEAN has established cooperation between state agencies called “The Southeast Asia Parties Against Corruption (ASEAN-PAC).” Each designated organization is required to collaborate in driving to combat corruption issues at the regional level. ASEAN-PAC has five objectives as:

  1. To exchange and share information and collaborate in combating corruption.
  2. To collaborate in training and professional skill development.
  3. To exchange expertise and personnel in fields related to anti-corruption efforts.
  4. To host and participate in conferences, forums, training sessions, and seminars.
  5. To provide technical assistance in operational activities.

ASEAN-PAC signed a Memorandum of Understanding (MoU) on December 15, 2004, marking the beginning of regional anti-corruption efforts within ASEAN. However, the work of ASEAN-PAC is often criticized for lacking transparency, as the public rarely knows about the plans or outcomes of ASEAN-PAC meetings.


Ultimately, no matter how much we understand corruption, it still affects all of us, whether directly or indirectly. It is evident that the role of the government is crucial in driving efforts to resolve corruption, but the role of everyone else is equally important in solving these problems together.

Finally, let’s share our thoughts on this:
How do we perceive corruption phenomena? How will you answer on these questions?

  • Does the government effectively manage corruption?
  • Are ASEAN governments transparent and uphold good governance?
  • Do you know what the ASEAN-PAC (Southeast Asia Parties Against Corruption) discusses?
  • Do you think your country can solve issues like casinos and online call center scams?
  • Do you believe the judicial system in your country is fair?
  • Do you think the current parliamentary system can address corruption?
  • Do government officials in your country engage in extortion or bribery?
  • Do you believe corruption can be resolved?
  • How do you think corruption impacts human rights issues?
  • Who do you think benefits the most from corruption?

The post Understanding Corruption in ASEAN: A Brief 101 – “What is Corruption?” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/understanding-corruption-in-asean-a-brief-101-what-is-corruption/feed/ 0 9236
ทำความเข้าใจคอร์รัปชันในอาเซียน ฉบับรวบรัด 101 “คอร์รัปชันคืออะไร ?” https://pefthailand.org/%e0%b8%97%e0%b8%b3%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%b2%e0%b9%83%e0%b8%88%e0%b8%84%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%9b%e0%b8%8a%e0%b8%b1%e0%b8%99/ https://pefthailand.org/%e0%b8%97%e0%b8%b3%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%b2%e0%b9%83%e0%b8%88%e0%b8%84%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%9b%e0%b8%8a%e0%b8%b1%e0%b8%99/#respond Mon, 09 Dec 2024 06:08:05 +0000 https://pefthailand.org/?p=9226 ทำความเข้าใจอคอร์รัปชั่นในอาเซียนฉบับรวบรัด 101 “คอร์รัปชั่นคืออะไร?”  เนื่องในวันที่ 9 ธันวาคมของทุกปีถือเป็นวันต่อต้านคอร์รัปชั่นสากลที่คอยเตือนให้ทุกประเทศในภาคีของสหประชาชาติ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการขับเคลื่อนเพื่อแก้ไขปรากฎการณ์คอร์รัปชั่นที่เกิดขึ้นทั่วโลก  เนื่องจากไม่มีคำนิยามสากลของคำว่า “คอร์รัปชั่น” ทำให้คำนี้ถูกตีความและให้ความหมายที่แตกต่างกันในแต่ละบริบทของประเทศ ภูมิศาสตร์ไปจนถึงสถานะทางสังคม ในประเทศไทยคำว่าคอร์รัปชั่นมักถูกพูดถึงในบริบททางการเมือง มักถูกอ้างไว้สำหรับโจมตีและทำลายความน่าเชื่อถือของขั้วตรงข้าม แต่จริงๆแล้วพวกเรารู้อะไรอีกบ้างเกี่ยวกับการคอร์รัปชั่น?  มาร่วมเรียนรู้ไปกับพวกเราเกี่ยวกับความเข้าใจคอร์รัปชั่น ทั้งในระดับสากลและภูมิภาคอาเซียนของพวกเรา มีอะไรที่พวกเรารู้และไม่รู้บ้าง ว่าการคอร์รัปชั่นส่งผลอย่างไรกับพวกเราทั้งทางตรงและทางอ้อม คอร์รัปชั่น ยังไม่มีคำนิยามระดับสากลที่ใช้ร่วมกัน ทำให้แต่ละรัฐบาล องค์กรใหญ่ๆ จึงได้สร้างคำนิยามคอร์รัปชั่นขึ้นมาเอง โดยคำนิยามส่วนมากมีทิศทางที่เป็นไปในลักษณะของการ”ใช้อำนาจโดยไม่ชอบ เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว ที่คนเหล่านั้นไม่สมควรได้” จะมีแตกต่างเพียงนิดหน่อยคือการให้ระดับความสำคัญของบุคคลที่เป็นผู้กระทำ ที่หมายถึง อำนาจสาธารณะ (หรือรัฐ) อย่างเช่นตัวอย่างคำนิยามของธนาคารโลก (World Bank) และองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและพัฒนา (OECD)  หนึ่งในคำนิยามที่มักถูกนำมาใช้บ่อยที่สุดคือคำนิยามโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International: TI) คือ “การใช้อำนาจที่ได้รับไว้วางใจในทางที่ผิดเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว”  ในส่วนของประเทศไทยนั้น คำนิยามที่ชัดเจนที่สุดอยู่ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ซึ่งให้ความหมายในลักษณะที่ว่าการคอร์รัปชั่นเป็นการประพฤติโดยมิชอบของบุคคล โดยมุ่งเน้นไปตำแหน่งที่ภายใต้ภาระหน้าที่ของราชการ  สิ่งที่คำนิยามเหล่านี้ยังตกหล่นไปคือการอธิบายคอร์รัปชั่นในลักษณะที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างทางสังคม โดยส่วนมากจะเน้นไปในการกระทำของบุคคลที่ใช้อำนาจโดยไม่ชอบเพื่อผลประโยชน์ โดยคำนิยามเหล่านี้ยังไม่ได้อธิบายไปถึงสภาพของความเป็นประชาธิปไตยหรือธรรมภิบาล หรือประเด็นการเมือง สังคมและการปกครองในลักษณะอื่นๆ แล้วพวกคุณละให้คำนิยามคอร์รัปชั่นว่าอย่างไร? ในไทยมักจะเห็นประเด็นคอร์รัปชั่นถูกใช้เมื่อมีการใส่ร้ายทางการเมือง แต่ในความเป็นการคอร์รัปชั่นนั้นส่งผลเสียระยะยาวในหลายมิติและมีผลกระทบโดยตรงและอ้อมถึงทุกคนในสังคม ตั้งแต่ปัญหาสิทธิมนุษยชน […]

The post ทำความเข้าใจคอร์รัปชันในอาเซียน ฉบับรวบรัด 101 “คอร์รัปชันคืออะไร ?” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>

ทำความเข้าใจอคอร์รัปชั่นในอาเซียนฉบับรวบรัด 101 “คอร์รัปชั่นคืออะไร?” 

เนื่องในวันที่ 9 ธันวาคมของทุกปีถือเป็นวันต่อต้านคอร์รัปชั่นสากลที่คอยเตือนให้ทุกประเทศในภาคีของสหประชาชาติ ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญในการขับเคลื่อนเพื่อแก้ไขปรากฎการณ์คอร์รัปชั่นที่เกิดขึ้นทั่วโลก 

เนื่องจากไม่มีคำนิยามสากลของคำว่า “คอร์รัปชั่น” ทำให้คำนี้ถูกตีความและให้ความหมายที่แตกต่างกันในแต่ละบริบทของประเทศ ภูมิศาสตร์ไปจนถึงสถานะทางสังคม ในประเทศไทยคำว่าคอร์รัปชั่นมักถูกพูดถึงในบริบททางการเมือง มักถูกอ้างไว้สำหรับโจมตีและทำลายความน่าเชื่อถือของขั้วตรงข้าม

แต่จริงๆแล้วพวกเรารู้อะไรอีกบ้างเกี่ยวกับการคอร์รัปชั่น? 

มาร่วมเรียนรู้ไปกับพวกเราเกี่ยวกับความเข้าใจคอร์รัปชั่น ทั้งในระดับสากลและภูมิภาคอาเซียนของพวกเรา มีอะไรที่พวกเรารู้และไม่รู้บ้าง ว่าการคอร์รัปชั่นส่งผลอย่างไรกับพวกเราทั้งทางตรงและทางอ้อม

คอร์รัปชั่น ยังไม่มีคำนิยามระดับสากลที่ใช้ร่วมกัน ทำให้แต่ละรัฐบาล องค์กรใหญ่ๆ จึงได้สร้างคำนิยามคอร์รัปชั่นขึ้นมาเอง โดยคำนิยามส่วนมากมีทิศทางที่เป็นไปในลักษณะของการ”ใช้อำนาจโดยไม่ชอบ เพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว ที่คนเหล่านั้นไม่สมควรได้” จะมีแตกต่างเพียงนิดหน่อยคือการให้ระดับความสำคัญของบุคคลที่เป็นผู้กระทำ ที่หมายถึง อำนาจสาธารณะ (หรือรัฐ) อย่างเช่นตัวอย่างคำนิยามของธนาคารโลก (World Bank) และองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและพัฒนา (OECD) 

หนึ่งในคำนิยามที่มักถูกนำมาใช้บ่อยที่สุดคือคำนิยามโดยองค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International: TI) คือ “การใช้อำนาจที่ได้รับไว้วางใจในทางที่ผิดเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัว” 

ในส่วนของประเทศไทยนั้น คำนิยามที่ชัดเจนที่สุดอยู่ในพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 ซึ่งให้ความหมายในลักษณะที่ว่าการคอร์รัปชั่นเป็นการประพฤติโดยมิชอบของบุคคล โดยมุ่งเน้นไปตำแหน่งที่ภายใต้ภาระหน้าที่ของราชการ 

สิ่งที่คำนิยามเหล่านี้ยังตกหล่นไปคือการอธิบายคอร์รัปชั่นในลักษณะที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างทางสังคม โดยส่วนมากจะเน้นไปในการกระทำของบุคคลที่ใช้อำนาจโดยไม่ชอบเพื่อผลประโยชน์ โดยคำนิยามเหล่านี้ยังไม่ได้อธิบายไปถึงสภาพของความเป็นประชาธิปไตยหรือธรรมภิบาล หรือประเด็นการเมือง สังคมและการปกครองในลักษณะอื่นๆ แล้วพวกคุณละให้คำนิยามคอร์รัปชั่นว่าอย่างไร?

ในไทยมักจะเห็นประเด็นคอร์รัปชั่นถูกใช้เมื่อมีการใส่ร้ายทางการเมือง แต่ในความเป็นการคอร์รัปชั่นนั้นส่งผลเสียระยะยาวในหลายมิติและมีผลกระทบโดยตรงและอ้อมถึงทุกคนในสังคม ตั้งแต่ปัญหาสิทธิมนุษยชน สิ่งแวดล้อม ความยากจน ความเป็นละเว้นจากการทำผิด (impunity) ปัญหาความรุนแรงและความขัดแย้งทางอาวุธ  ปัญหาอาชญากรข้ามชาติ และการเกลียดชังเพื่อนมนุษย์ หากมองเผินๆ ก็ดูเหมือนว่าปัญหาเหล่านี้ไม่ได้เกี่ยวข้องกัลบการคอร์รัปชั่นกันเลย แต่หากคิดกันให้ดีปัจจัยหลายอย่างที่ส่งผลให้เกิดปัญหาเหล่านี้มักเกิดจากการละเลยหรือการใช้อำนาจอย่างไม่เป็นธรรมในหลายบริบท ยกตัวอย่างเช่นองค์กรหลอกลวงคอลเซนเตอร์คงไม่สามารถเกิดขึ้นได้ หากรัฐมีการจัดการอย่างจริงจังโดยกฎหมายและอำนาจ อาชญากรข้ามชาติคงไม่สามารถดำเนินธุรกิจสีเทาข้ามชาติได้หากระหว่างหลายๆรัฐบาลร่วมมือกันเพื่อจำกัดองค์กรเหล่านี้ ในกระบวนการยุติธรรมเช่นกัน หากกระบวนเหล่านี้เต็มได้ด้วยความโปร่งใสสามารถนำคนผิดมาลงโทษได้ตามบัญญัติของกฎหมาย สิ่งเหล่านี้จะช่วยลดอาชญากรรมลงได้ 

แล้วพวกคุณละ คิดว่าคอร์รัปชั่นส่งผลเสียแก่ตัวเองและสังคมอย่างไรบ้าง?

อนุสัญญาต่อต้านคอร์รัปชั่น (UNCAC) เป็นอนุสัญญาระหว่างประเทศเพียงฉบับเดียวในโลกที่มีความยึดโยงทางกฎหมายในการต่อต้านการทุจริต ปัจจุบันมีรัฐบาลทั่วโลกร่วมเป็นภาคี 191 ประเทศ (ประเทศในสหประชาชาติทั้งหมดมี 193 ประเทศ) โดยมุ่งเน้นการทำงานหาทางร่วมมือในการแก้ไขปัญหาคอร์รัปชั่นในระดับสากล และมีระบบกลไกตรวจสอบของประเทศสมาชิกที่เรียกว่า “การจัดประชุมรัฐภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการต่อต้านทุจริต (CoSp)” ซึ่งในกลไกนี้มีเพียงแค่การทำงานระหว่างรัฐบาลเท่านั้น ยังขาดการร่วมมือระหว่างภาคประชาชน ภาคธุรกิจหรือองค์กรอื่นๆ 

อนุสัญญา UNCAC นั่นไม่ได้ให้คำนิยามของคอร์รัปชันไว้อย่างชัดเจน แต่ได้ระบุถึงพฤติการณ์ที่ถือว่าเป็นการคอร์รัปชัน ไว้ในบทที่ 3 ของอนุสัญญา

พฤติการณ์ที่ถือว่าเป็นการคอร์รัปชันที่ถูกระบุไว้ในอนุสัญญานั้นได้แก่:  
1. การให้สินบนแก่เจ้าหน้าที่รัฐ (มาตรา 15)
2. การให้สินบนแก่เจ้าหน้าที่องค์กรระหว่างประเทศหรือองค์กรข้ามชาติ (มาตรา 16)
3. การยักยอกเงิน การเบียดบัง หรือการกระทำเพื่อถ่ายเททรัพย์สินโดยเจ้าหน้าที่ของรัฐ (มาตรา 17)
4. การใช้อิทธิพลเพื่อให้ได้มาซึ่งประโยชน์อันมิชอบ (มาตรา 18) 
5. การปฏิบัติหน้าที่โดยมิชอบ (มาตรา 19) 
6. การร่ำรวยโดยผิดกฎหมาย (มาตรา 20) 
7. การให้สินบนในภาคเอกชน (มาตรา 21)
8. การยักยอกทรัพย์สินในภาคเอกชน (มาตรา 22) 
9. การฟอกทรัพย์สินที่ได้มากจากการกระทำความผิดอาญา (มาตรา 23)
10. การปกปิด (มาตรา 24)
11. การขัดขวางกระบวนการยุติธรรม (มาตรา 25) 

เมื่อประเทศภาคีได้ลงนามแล้ว ตามหลักการของอนุสัญญาก็ควรออกกฎหมายเพื่อปกป้องและควบคุมไม่ให้พฤติกรรมเหล่านี้เกิดขึ้น แต่ในเชิงปฏิบัติแม้หลายประเทศพยายามออกกฎหมายห้ามปราบ แต่รูปแบบของการคอร์รัปชันก็สามารถปรับตัวตามสภาพของกฎหมายให้มีลักษณะที่ซับซ้อนและตรวจจับได้ยากขึ้น

พวกคุณคิดว่า การที่จะหยุดพฤติการณ์คอร์รัปชันเหล่านี้ได้ ควรทำอย่างไร ?  

การประเมินผลคอร์รัปชัน

ในความเป็นจริงแล้วการประเมินคอร์รัปชันนั้นเป็นสิ่งที่ทำได้ “ยาก” เพราะพฤติการณ์คอร์รัปชันนั้นมักเป็นกระทำในรูปแบบที่ปกปิดเพื่อให้ตรวจสอบได้ยาก นวัตกรรมการประเมินคอร์รัปชันส่วนมากจึงมักจะประเมินผ่าน “มุมมอง การรับรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก” ต่อความเข้าใจในสถานการณ์สังคมภาพรวมต่อการเกิดคอร์รัปชัน 

องค์กรที่ทำการประเมินคอร์รัปชันในระดับสากลได้แก่ Transparency International (TI) ที่ทำงานประเมินสถานการณ์คอร์รัปชันของรัฐบาลทั่วโลกผ่านการสอบถามความคิดเห็นของประชาชน ผู้เชี่ยวชาญในแต่ละประเทศ เรียกว่า “ดัชนีชี้วัดการรับรู้ด้านทุจริต (Corruption Perceptions Index: CPI)”  ประเทศในอาเซียนส่วนมากมักได้คะแนนต่ำกว่าค่าเฉลี่ย (นอกจากสิงคโปร์) และก็มีแนวโน้มที่จะไม่สามารถจะยกระดับการแก้ไขคอร์รัปชันได้

ในประเทศไทยเองนั้น สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ได้ทำมาตราวัดการรับรู้คอร์รัปชันระดับประเทศขึ้นมาคือ “การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA)” เพื่อประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส่ในหน่วยงานภาครัฐ โดยหากเปรียบเทียบคะแนนระหว่าง CPI และ ITA มีผลลัพธ์ที่แตกต่างกัน คือคะแนน CPI ที่ประเมินโดยองค์กรนอกประเทศ ประเมินว่าสถานการณ์คอร์รัปชันของไทยคงที่และไม่มีการพัฒนาในทางที่ดีขึ้น แต่คะแนน ITA ที่ประเมินในระดับประเทศของไทย แสดงให้เห็นว่าสถานการณ์คอร์รัปชันของประเทศไทยดีขึ้นอย่างต่อเนื่องในทุกปี

พวกคุณคิดอย่างไรกับคะแนนดัชนีรับรู้คอร์รัปชัน คะแนนประเมินอันไหน น่าเชื่อถือกว่ากัน ระหว่าง CPI หรือ ITA?

ในการทำงานต่อต้านคอร์รัปชันระดับภูมิภาคอาเซียน ได้มีความร่วมมือกันระหว่างหน่วยงานของแต่ละรัฐเรียกว่า “หน่วยงานต่อต้านการทุจริตในภูมิภาคอาเซียน (The Southeast Asia Parties Against Corruption: ASEAN-PAC)” โดยแต่ละองค์กรที่ได้รับการมอบหมายจำเป็นจะต้องทำงานระหว่างกันในการขับเคลื่อนการแก้ปัญหาคอร์รัปชันในระดับภูมิภาค โดยมีวัตถุประสงค์ห้าข้อได้แก่

1. เพื่อแลกเปลี่ยนและแบ่งปันข้อมูลและร่วมมือกันในการต่อต้านการทุจริต

2. เพื่อร่วมมือกันในการฝึกอบรมและพัฒนาทักษะวิชาชีพ

3. เพื่อแลกเปลี่ยนความเชี่ยวชาญและบุคลากรในสาขาที่เกี่ยวข้องกับการต่อต้านการทุจริต

4. เพื่อเป็นเจ้าภาพและเข้าร่วมในการประชุม ฟอรัม การอบรม และการประชุมสัมมนา

5. เพื่อให้ความช่วยเหลือทางเทคนิคในกิจกรรมปฏิบัติการ

ASEAN-PAC ได้มี MoU ลงนามอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2547 ถือเป็นการเริ่มต้นการทำงานระดับภูมิภาคอาเซียนขึ้นมาเพื่อต่อต้านคอร์รัปชัน อย่างไรก็ตาม การทำงานของ ASEAN-PAC กับถูกมองว่ายังไม่มีความโปร่งใสเท่าที่ควร เพราะประชาชนแทบจะไม่ถามถึงแผนงาน ผลการประชุมของ ASEAN-PAC เลย

แม้ว่าเราจะมีความเข้าใจเกี่ยวกับคอร์รัปชัน แต่การคอร์รัปชันก็ยังส่งผลถึงพวกเราทุกคนไม่ว่าจะทางตรงหรือทางอ้อม และอย่างที่เห็นได้ชัดว่าบทบาทของรัฐบาลมีความสำคัญมากในการขับเคลื่อนการแก้ไขคอร์รัปชัน บทบาทของทุกคนก็มีความสำคัญไม่แพ้ในการที่จะแก้ไขปัญหาเหล่านี้ร่วมกัน

สุดท้ายนี้ มาร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า พวกเรามีการรับรู้ปรากฎการณ์คอร์รัปชันแบบไหนกันบ้าง พวกคุณคิดอย่างไรกับคำถามเหล่านี้

  • รัฐบาลมีการบริหารจัดการคอร์รัปชันที่ดีหรือไม่ ?
  • รัฐบาลอาเซียนมีการความโปร่งใส่และธรรมาภิบาลหรือไม่ ?
  • คุณทราบหรือไม่ว่าหน่วยงานต่อต้านการทุจริตในภูมิภาคอาเซียน (ASEAN-PAC)  เค้าพูดคุยอะไรกันบ้าง ?
  • คุณคิดว่ารัฐของคุณจะแก้ไขปัญหาคาสิโน คอลเซ็นเตอร์ออนไลน์ได้หรือไม่ ?
  • คุณเชื่อหรือไม่ว่าระบบศาลในประเทศของคุณมีความยุติธรรม ?
  • คุณว่าระบบรัฐสภาในปัจจุบันจะแก้ปัญหาคอร์รัปชันได้หรือไม่ ?
  • เจ้าหน้าที่รัฐในประเทศของคุณชอบเก็บส่วยขูดรีดหรือไม่ ?
  • คุณเชื่อว่าปัญหาคอร์รัปชันจะสามารถแก้ไขได้หรือไม่ ?
  • คุณคิดว่าการคอร์รัปชันส่งผลถึงประเด็นสิทธิมนุษยชนอย่างไร ?
  • คุณคิดว่าใครคือผู้ได้รับผลประโยชน์จากการคอร์รัปชันมากที่สุด ?

The post ทำความเข้าใจคอร์รัปชันในอาเซียน ฉบับรวบรัด 101 “คอร์รัปชันคืออะไร ?” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/%e0%b8%97%e0%b8%b3%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b9%80%e0%b8%82%e0%b9%89%e0%b8%b2%e0%b9%83%e0%b8%88%e0%b8%84%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%9b%e0%b8%8a%e0%b8%b1%e0%b8%99/feed/ 0 9226
Fight to Decriminalization on Sex Work in Thailand & the Systemic Corruption https://pefthailand.org/fight-to-decriminalization-on-sex-work-in-thailand-the-systemic-corruption/ https://pefthailand.org/fight-to-decriminalization-on-sex-work-in-thailand-the-systemic-corruption/#respond Tue, 01 Oct 2024 03:56:16 +0000 https://pefthailand.org/?p=9211 “We are not wrong. It is the law that is wrong. It is the law that forced us to be illegal workers.” This statement captures how sex workers perceive corruption in their daily lives. This article seeks to amplify their voices, delving into their experiences with corruption. Readers will gain insight into how systemic bribery […]

The post Fight to Decriminalization on Sex Work in Thailand & the Systemic Corruption appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
“We are not wrong. It is the law that is wrong. It is the law that forced us to be illegal workers.”

This statement captures how sex workers perceive corruption in their daily lives. This article seeks to amplify their voices, delving into their experiences with corruption. Readers will gain insight into how systemic bribery and discriminatory laws intersect to exploit and impact the lives of sex workers in Thailand.

The post Fight to Decriminalization on Sex Work in Thailand & the Systemic Corruption appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/fight-to-decriminalization-on-sex-work-in-thailand-the-systemic-corruption/feed/ 0 9211
People’s Empowerment Foundation Annual Report 2023 https://pefthailand.org/peoples-empowerment-foundation-annual-report-2023/ https://pefthailand.org/peoples-empowerment-foundation-annual-report-2023/#respond Thu, 15 Aug 2024 14:59:39 +0000 https://pefthailand.org/?p=9175 รายงานประจำปี 2023 มูลนิธิศักยภาพชุมชน 

The post People’s Empowerment Foundation Annual Report 2023 appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>

รายงานประจำปี 2023 มูลนิธิศักยภาพชุมชน 

The post People’s Empowerment Foundation Annual Report 2023 appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/peoples-empowerment-foundation-annual-report-2023/feed/ 0 9175
การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 5 “ผู้ลี้ภัย” https://pefthailand.org/%e0%b8%9c%e0%b8%b9%e0%b9%89%e0%b8%a5%e0%b8%b5%e0%b9%89%e0%b8%a0%e0%b8%b1%e0%b8%a2/ https://pefthailand.org/%e0%b8%9c%e0%b8%b9%e0%b9%89%e0%b8%a5%e0%b8%b5%e0%b9%89%e0%b8%a0%e0%b8%b1%e0%b8%a2/#respond Thu, 15 Aug 2024 03:17:41 +0000 https://pefthailand.org/?p=9161 โดยรายงานของสำนักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) ได้ระบุในปี 2022 ว่ามีจำนวนผู้ลี้ภัยโดยประมาณ 32.5 ล้านคนทั่วโลก แต่ทราบหรือไม่ว่าผู้ลี้ภัยเกิดขึ้นได้อย่างไร มีที่มาอย่างไรบ้าง และในบริบทของสากลโลกให้คำนิยามเรื่องผู้ลี้ภัยไว้อย่างไร  เพียงแค่เหตุการณ์การรัฐประหารสถานการณ์การสู้รบในพม่าตั้งแต่ปี 2021 ส่งผลให้มีผู้ลี้ภัยจำนวนโดยประมาณ 1,330,591 โดยส่วนมากจะลี้ภัยไปยังประเทศเพื่อนบ้านทั้งอินเดีย บังคลาเทศและไทย และในทุกวันนี้จำนวนผู้ลี้ภัยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้น การ์ตูนสิทธิมนุษยชนตอนที่ 5 “ผู้ลี้ภัย”  ผู้ลี้ภัยเป็นหนึ่งประเด็นที่มีหลักจารีตประเพณีสากลระหว่างประเทศรับรองให้สิทธิผู้ลี้ภัยนี้ต้องถูกรับรองตามหลักจารีตสากลแม้ว่าจะไม่มีกฎหมายรองรับในประเทศนั้น  ๆ ก็ตาม ทุกประเทศจะต้องไม่ส่งคนเหล่านี้กลับประเทศ หากนำไปสู่ภัยอันตรายหากส่งผลถึงชีวิตและการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน  ในทุก ๆ วันนี้ จากสถานการณ์ความไม่สงบทางสงครามในหลายประเทศ เชื่อหรือไม่ว่าพวกเราทุกคนอาจเคยเดินผ่านผู้ลี้ภัยมาแล้วในชีวิตประจำวัน โดยที่ทุกคนอาจจะไม่ได้ตระหนักว่าเค้าเหล่านั้นคือ “ผู้ลี้ภัย” นี่เป็นสิ่งหนึ่งที่เราคงหลีกเลี่ยงไม่ได้ มาร่วมทำความเข้าใจผู้ลี้ภัยเพื่อให้พวกเราสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างเข้าใจเพื่อนมนุษย์กันผ่านการ์ตูนสิทธิมนุษยชนในตอนที่ 5 ผู้ลี้ภัย “ที่มาของคำว่าผู้ลี้ภัย” คำว่าผู้ลี้ภัยโดยตามประวัติศาสตร์มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า Refugie ในปี 1685 ถูกใช้ครั้งแรกโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ส่งผลให้เกิดผู้ลี้ภัยทางการเมืองกลุ่มแรกๆหลังจากการยกเลิกพระราชกฤษฎีกาน็องต์ (The Edict of Nantes) และในช่วงสงครามโลก มีผู้ลี้ภัยจำนวนมากเกิดขึ้นมาจากภัยสงคราม ความขัดแย้งทางการเมืองและชาติพันธุ์ รวมถึงการแย่งชิงทรัพยากร  “อนุสัญญาผู้ลี้ภัย 1951” และ […]

The post การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 5 “ผู้ลี้ภัย” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
โดยรายงานของสำนักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UNHCR) ได้ระบุในปี 2022 ว่ามีจำนวนผู้ลี้ภัยโดยประมาณ 32.5 ล้านคนทั่วโลก แต่ทราบหรือไม่ว่าผู้ลี้ภัยเกิดขึ้นได้อย่างไร มีที่มาอย่างไรบ้าง และในบริบทของสากลโลกให้คำนิยามเรื่องผู้ลี้ภัยไว้อย่างไร 

เพียงแค่เหตุการณ์การรัฐประหารสถานการณ์การสู้รบในพม่าตั้งแต่ปี 2021 ส่งผลให้มีผู้ลี้ภัยจำนวนโดยประมาณ 1,330,591 โดยส่วนมากจะลี้ภัยไปยังประเทศเพื่อนบ้านทั้งอินเดีย บังคลาเทศและไทย และในทุกวันนี้จำนวนผู้ลี้ภัยมีแนวโน้มที่จะเพิ่มมากขึ้น

การ์ตูนสิทธิมนุษยชนตอนที่ 5 “ผู้ลี้ภัย” 

ผู้ลี้ภัยเป็นหนึ่งประเด็นที่มีหลักจารีตประเพณีสากลระหว่างประเทศรับรองให้สิทธิผู้ลี้ภัยนี้ต้องถูกรับรองตามหลักจารีตสากลแม้ว่าจะไม่มีกฎหมายรองรับในประเทศนั้น  ๆ ก็ตาม ทุกประเทศจะต้องไม่ส่งคนเหล่านี้กลับประเทศ หากนำไปสู่ภัยอันตรายหากส่งผลถึงชีวิตและการถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน 

ในทุก ๆ วันนี้ จากสถานการณ์ความไม่สงบทางสงครามในหลายประเทศ เชื่อหรือไม่ว่าพวกเราทุกคนอาจเคยเดินผ่านผู้ลี้ภัยมาแล้วในชีวิตประจำวัน โดยที่ทุกคนอาจจะไม่ได้ตระหนักว่าเค้าเหล่านั้นคือ “ผู้ลี้ภัย” นี่เป็นสิ่งหนึ่งที่เราคงหลีกเลี่ยงไม่ได้ มาร่วมทำความเข้าใจผู้ลี้ภัยเพื่อให้พวกเราสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างเข้าใจเพื่อนมนุษย์กันผ่านการ์ตูนสิทธิมนุษยชนในตอนที่ 5 ผู้ลี้ภัย

“ที่มาของคำว่าผู้ลี้ภัย”

คำว่าผู้ลี้ภัยโดยตามประวัติศาสตร์มาจากภาษาฝรั่งเศสว่า Refugie ในปี 1685 ถูกใช้ครั้งแรกโดยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ส่งผลให้เกิดผู้ลี้ภัยทางการเมืองกลุ่มแรกๆหลังจากการยกเลิกพระราชกฤษฎีกาน็องต์ (The Edict of Nantes) และในช่วงสงครามโลก มีผู้ลี้ภัยจำนวนมากเกิดขึ้นมาจากภัยสงคราม ความขัดแย้งทางการเมืองและชาติพันธุ์ รวมถึงการแย่งชิงทรัพยากร 

“อนุสัญญาผู้ลี้ภัย 1951” และ “พิธีสารเลือกรับ 1967” 

ในบริบทสากลโลกอนุสัญญาผู้ลี้ภัย 1951 ในปัจจุบันได้ถือกลายเป็นหลักจารีตประเพณีสากลที่ทุกประเทศล้วนต้องปฏิบัติตามเพื่อคุ้มครองผู้ลี้ภัยและห้ามส่งกลับหากมีภัยอันตราย ในตอนแรกอนุสัญญาผู้ลี้ภัยถูกออกแบบโดยมีข้อจำกัดเฉพาะบุคคลที่ลี้ภัยตั้งแต่ก่อนวันที่ 1 มกราคม 1951 และถูกจำกัดในโซนยุโรป ต่อมาจึงได้ออกพิธีสารเลือกรับในปี 1967 ในการขยายขอบเขตและยกเลิกข้อจำกัดจากบริบทยุโรปสู่ผู้ลี้ภัยทั่วโลก 

“มองมิติผู้ลี้ภัย ผ่านอาเซียน”

แม้ว่าอนุสัญญาผู้ลี้ภัยจะเป็นอนุสัญญาที่ทั่วโลกต่างให้ความสำคัญและยอมรับเป็นหลักจารีตสากลนั้น แต่ประเทศในอาเซียนนั้นมีเพียงแค่ 2 ประเทศเท่านั้นที่ลงนามได้แก่ ประเทศกัมพูชาและฟิลิปปินส์

ประเทศไทยถึงแม้จะเป็นประเทศที่มีความเกี่ยวข้องกับผู้ลี้ภัยมากที่สุดประเทศหนึ่ง ยกตัวอย่างตั้งแต่เหตุการณ์เขมรแดง สงครามเวียดนามหรือแม้แต่ปัญหาความไม่สงบในพม่า รัฐบาลไทยไม่ว่าในสมัยใดก็ไม่มีเจตนาในการรับรองอนุสัญญาฉบับนี้เลย 

“UNHCR สำนักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ”
UNHCR United Nations High Commissioner for Refugees หรือสำนักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ เป็นองค์กรระดับสากลที่ถูกแต่งตั้งโดยผ่านที่ประชุมสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติผ่าน Resolution 319 (IV) เมื่อปี 1949 โดยมีจุดประสงค์เพื่อทำงานช่วยเหลือผู้ลี้ภัยทั่วโลก นอกจาก UNHCR แล้วยังมีองค์กรด้านสิทธิฯ รวมถึงบุคคลทั่วไปมากมายที่ยังคงให้การช่วยเหลือผู้ลี้ภัยตามหลักสิทธิมนุษยชนและหลักมนุษยธรรม

มีคำนิยามที่เกี่ยวข้องผู้ลี้ภัยมากมายทั้ง คนไร้รัฐ (stateless person) คนผลัดถิ่น (internally displaced person / IDP) ผู้แสวงหาผู้ลี้ภัย (Asylum-seeker) ผู้ลี้ภัย (Refugee) การตั้งถิ่นฐานใหม่ (Resettlement) คำนิยามเหล่านี้แม้จะดูมีความหมายใกล้เคียงกันแต่ก็มีความแตกต่างกันในเชิงบริบทพอสมควร หากเรามีการเข้าถึงคำนิยามที่ถูกต้องจะทำให้สามารถเข้าใจถึงบริบทของสถานะที่คนเหล่านี้กำลังเผชิญอยู่ 

ผู้ลี้ภัย คือ บุคคลที่เดินทางลี้ภัยหลบหนีออกจากประเทศบ้านเกิด เนื่องจากภัยประหัตประหาร ภัยสงคราม การถูกละเมิดสิทธิมนุษยชน รวมถึงปัญหาความขัดแย้งทางเชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา ความเชื่อและความคิดเห็นทางการเมือง 

อนุสัญญาผู้ลี้ภัย 1951 ได้ถือกลายเป็นหลักจารีตประเพณีที่แม้จะไม่ได้ลงนามในอนุสัญญาก็จำเป็นต้องพึงปฏิบัติตาม โดยหลักการพื้นฐานนี้เรียกว่า Non-Refoulment 

ในประเทศอาเซียนมีเพียงแค่สองประเทศที่ลงนามในอนุสัญญานี้คือ ประเทศกัมพูชาและฟิลิปปินส์

The post การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 5 “ผู้ลี้ภัย” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/%e0%b8%9c%e0%b8%b9%e0%b9%89%e0%b8%a5%e0%b8%b5%e0%b9%89%e0%b8%a0%e0%b8%b1%e0%b8%a2/feed/ 0 9161
The Process of Marginalization and Corruption in Labour Force https://pefthailand.org/the-process-of-marginalization-and-corruption-in-labour-force/ https://pefthailand.org/the-process-of-marginalization-and-corruption-in-labour-force/#respond Fri, 14 Jun 2024 08:21:01 +0000 https://pefthailand.org/?p=9151 The workforce of the world is the foundation of the economy and thus stimulates growth and sustainability on the planet. Even if going on with the economic transactions on a surface level, there are still several dynamics hidden in the mechanism that affect the labor class and social welfare. Here is the exploration of the […]

The post The Process of Marginalization and Corruption in Labour Force appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>

The workforce of the world is the foundation of the economy and thus stimulates growth and sustainability on the planet. Even if going on with the economic transactions on a surface level, there are still several dynamics hidden in the mechanism that affect the labor class and social welfare. Here is the exploration of the complicated nature of labor practices in which the interplay of corruption and power dynamics play a pivotal role. Corruption that ranges from bribery to its extreme version is known as exploitation and manipulation. Similarly, the imbalanced power distribution of workers exacerbates the gaps, which is maintained by this cycle of injustice, which itself undermines workers’ basic rights and dignity. This article aims to study and understand the process of marginalization of labor in Thailand and how it is linked to corruption system. This study was merely conducted by studying on other research from academics and international organization reports.   

The content will be following: 

  1. The History and Development of the Labour Force in Thailand
  2. The Characteristics of Thailand’s Labour Market
  3. The Labour Activism in Thailand
  4. Corruption and Exploitation in the Labour Sector

The Development of the Labour Force in Thailand

the development of the labor market in Thailand can be divided into two distinctive periods: pre-revolution (before 1932) and post-revolution (after 1932).

Pre-Revolution Period (Before 1932)

  • Feudal Labor System: Thailand operated under a feudal system characterized by a hierarchical social structure. At the top were the King and feudal officials, while serfs and slaves comprised the bottom layer. Serfs and slaves were subjected to forced labor without compensation, primarily in agriculture, construction, and defense.
  • Transition to Commercial Economy: The signing of the Bowring Treaty in 1855 marked Thailand’s transition from a feudal to a commercial economy. This shift created a demand for paid labor, leading to the influx of migrant workers from China to fulfill labor needs in emerging industries and infrastructure projects.
  • Modernization Initiatives: Under King Rama V, Thailand embarked on modernization initiatives, including the abolition of the serfdom system. This transitioned many Thais from agrarian self-sufficiency to wage labor in emerging industries like rubber processing, mining, and forestry.

Post-Revolution Period (After 1932)

  • Transition to Democracy: The revolution of 1932 ushered in a transition from absolute monarchy to constitutional monarchy and paved the way for democratic reforms. This period saw increased political freedoms and the emergence of collective labor action.
  • Rise of Labor Associations: Economic recessions and political liberalization contributed to the rise of labor associations and collective bargaining. Workers in various sectors, such as tram, cement plant, and train workers, formed associations to advocate for labor rights and fair treatment.
  • Challenges and Repression: Despite gains in collective bargaining, labor movements faced challenges and repression, particularly during military-led governments. The Thai government suppressed labor movements perceived as threats to stability, using legislation and force to curb dissent.
  • External Pressures and Revival Efforts: External pressure from international labor organizations, such as the International Confederation of Free Trade Unions (ICFTU), influenced labor rights advocacy in Thailand. Efforts to revive labor parties and movements persist, but political involvement remains limited, reflecting ongoing struggles within Thailand’s labor sector.

As a developing country, Thailand’s labor market is characterized by a substantial informal sector, which may serve as a transitional space for individuals entering formal employment. Thailand’s labour market policy, rooted in the East Asian Economic Model (EAEM) since the 1950s, prioritizes export-oriented low-cost manufacturing and fosters a favorable investment climate for both foreign and domestic investors. This approach relies on maintaining low wage costs, facilitated by a large pool of under-employed agricultural labor and limited labor rights, including suppressed trade unions and restricted freedom of association and speech. The Board of Investment (BOI) plays a central role in attracting foreign investment through incentives such as tax breaks and access to infrastructure, particularly in designated industrial estates. 

However, the efficacy of these incentives in stimulating genuine investment rather than diversion remains questionable, potentially distorting markets and perpetuating marginally profitable activities. The prevalent 3Ls strategy—low productivity, low wages, and long hours—characterizes the labor landscape, with generations of factory workers engaged in repetitive tasks for the benefit of foreign investors.

The evolution of Thailand’s labor force has been closely intertwined with the tireless advocacy of labor activists throughout the nation’s history. As Thailand transitioned from a feudal society to a modernizing economy, labor activists emerged to challenge exploitative labor practices and fight for the rights of workers. Despite facing considerable obstacles, including repression from authoritarian regimes, these activists persisted in their efforts to improve working conditions, secure fair wages, and protect the interests of the labor force. Their activism has been instrumental in driving legislative reforms, promoting collective bargaining, and fostering a culture of worker solidarity. Over time, labor activists have become integral figures in shaping Thailand’s labor landscape, advocating for social justice and empowering workers to assert their rights in the face of adversity. Their unwavering dedication underscores the enduring link between the development of the labor force and the resilience of labor activism in Thailand.

The history of labor activism in Thailand is a rich tapestry woven with the threads of struggle, resistance, and resilience. From the early urban labor movements of the pre-1950s era to the rural mobilization efforts of the mid-20th century and the pivotal role of workers in democratic uprisings, the labor force in Thailand has left an indelible mark on the country’s socio-political landscape.

  • Pre-1950s: Emergence of Urban Labor Movements

Before the 1950s, labor activism in Thailand was predominantly urban-centric, with early signs of organized movements influenced by the operations of the Communist Party among workers in Bangkok. The victory of the Communist Party in China prompted strategic shifts within the Thai Communist Party, redirecting its focus towards mobilizing rural peasants and laying the groundwork for broader social movements. This period laid the foundation for future labor mobilization efforts. (Ungpakorn, 1995; Poonpanich, 1988)

  • 1950s and 1960s: Shift towards Rural Mobilization

The subsequent decades witnessed a notable shift towards rural mobilization, spurred by political repression under successive governments. The Communist Party prioritized armed struggle among peasants, expanding labor activism beyond urban centers and drawing rural communities into political and social struggles. This period marked a significant expansion of the labor movement’s reach and influence across the country. (Ungpakorn, 1995)

  • 1973: Urban Uprising and Democratization Movement

The year 1973 marked a watershed moment in Thailand’s history with the urban uprising and democratization movement. Fueled by widespread social discontent, workers played a central role in strikes and demonstrations, demanding political reforms and challenging authoritarian rule. The uprising led to significant political changes and underscored the power of collective action in shaping Thailand’s political landscape. (Ungpakorn, 1995)

  • Post-1973: Continuation of Labor Activism

In the aftermath of the 1973 uprising, labor activism remained a potent force in Thai society. Workers continued to engage in strikes and collective action to address issues of exploitation and injustice, advocating for labor rights and challenging the status quo. The May Uprising of 1992 further exemplified the enduring role of the working class in mobilizing against authoritarian rule and economic inequality, highlighting their resilience and commitment to political change. (Ungpakorn, 1995)

The detailed examination of corruption and exploitation within Thailand’s labor sector, as elucidated in the provided information, resonates strongly with the findings of Walsh’s study on labor market and corruption issues in Chiang Rai, Thailand (2010), published in the Review of Economic and Business Studies (REBS) (Vol. 6, pp. 253-268). Walsh’s study underscores how corruption permeates various facets of the labor market, leading to systemic issues such as human trafficking, underpayment of wages, and dangerous working conditions

Moreover, Walsh’s analysis resonates with the broader socio-economic context outlined in the provided information, highlighting the historical and cultural factors that contribute to the perpetuation of corruption and exploitation in Thailand. Through empirical evidence and theoretical insights, Walsh underscores the detrimental impact of corruption on workers’ rights and economic development in Chiang Rai and beyond. Additionally, Walsh’s examination of corrupt union officials aligns with the concerns raised regarding the abuse of power within labor organizations, further emphasizing the need for systemic reforms to combat corruption and uphold labor standards.

Within this context, Cooray and Dzhumashev’s study (2018) sheds further light on the detrimental influence of corruption on labor market dynamics, aligning with the observations made by Walsh and corroborating the widespread nature of corruption within Thailand’s labor sector. Corruption undermines labor market efficiency by distorting recruitment processes, fostering unfair labor practices, and creating barriers to formal employment opportunities, as highlighted by the International Labour Organization: ILO (2015) among others. This resonates with the challenges faced by workers in Thailand, where corruption permeates various aspects of the labor sector, from recruitment processes to workplace conditions.

Concrete examples further illustrate corruption’s pervasive impact on Thailand’s labor sector, notably through large-scale infrastructure projects tainted by allegations of graft. The Suvarnabhumi International Airport project stands out as a glaring example, marred by corruption allegations from its inception (Ouyyanont, 2015). Similarly, the abandoned pillars of the Hopewell Rail project serve as haunting reminders of corruption’s enduring legacy, collapsing under the weight of corruption and incompetence (Braun, 2010). These instances underscore the urgent need for comprehensive anti-corruption measures to protect the rights and dignity of workers in Thailand.

Recommendations for further solutions

  • Strengthen Legal Frameworks:
  • Establish Independent Oversight Bodies
  • Enhance Fiscal Transparency
  • Invest in Labor Inspections and Enforcement
  • Empower Civil Society and Media
  • Strengthen Whistleblower Protection

The post The Process of Marginalization and Corruption in Labour Force appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/the-process-of-marginalization-and-corruption-in-labour-force/feed/ 0 9151
Fact-Finding Humanitarian Report https://pefthailand.org/fact-finding-humanitarian-report/ https://pefthailand.org/fact-finding-humanitarian-report/#respond Wed, 01 May 2024 04:04:01 +0000 https://pefthailand.org/?p=9145 “1,000 – 3,000 is the number of people who have fled to the IDP camps” “Canvas, Tarpaulin and Tents are urgently needs for upcoming rainy season” “The medicines for congenital disease symptoms and the Oral Rehydration Salt (ORD) are needed” Fact-finding humanitarian report, PEF visited the field for donations and monitored the situation of IDPs […]

The post Fact-Finding Humanitarian Report appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
“1,000 – 3,000 is the number of people who have fled to the IDP camps” “Canvas, Tarpaulin and Tents are urgently needs for upcoming rainy season” “The medicines for congenital disease symptoms and the Oral Rehydration Salt (ORD) are needed”

Fact-finding humanitarian report, PEF visited the field for donations and monitored the situation of IDPs after the recent massive fight in the Myawaddy area, investigating the condition of IDPs. This report essentially reviews the needs of IDPs after impacted by armed conflict.

Please access to the full report: https://drive.google.com/file/d/1C9V8P1wRqSfPLG5VJNtgSd0kDGu-e5By/view?usp=sharing

The post Fact-Finding Humanitarian Report appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/fact-finding-humanitarian-report/feed/ 0 9145
Open Joint Statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces (Thai language inside) https://pefthailand.org/open-joint-statement-of-condemnation-against-min-aung-hlaings-act-of-using-aung-san-suu-kyi-as-human-shield-from-attacks-by-ethnic-military-forces-thai-language-inside/ https://pefthailand.org/open-joint-statement-of-condemnation-against-min-aung-hlaings-act-of-using-aung-san-suu-kyi-as-human-shield-from-attacks-by-ethnic-military-forces-thai-language-inside/#respond Sat, 27 Apr 2024 07:05:33 +0000 https://pefthailand.org/?p=9141 25 Organizations and 44 Individuals signed joint-statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces The key statement demands 25 องค์กรและ 44 บุคคลร่วมลงนามในแถลงการณ์ร่วมประณาม มิน อ่อง ลายที่จะใช้นางออง ซานซู จี เป็นโลห์มนุษย์ป้องกันการโจมตีเนปิดอว์จากกองกำลังต่อต้านชาติพันธ์ุ พวกเราเรียกร้องให้ Access full statement: https://drive.google.com/file/d/1wFPR3i4IifAycfUCr7nLF9byI9dPqn1Q/view?usp=sharing

The post Open Joint Statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces (Thai language inside) appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>

25 Organizations and 44 Individuals signed joint-statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces

The key statement demands

  1. Min Aung Hlaing and the State Administration Council (SAC) must immediately reveal the conditions and whereabouts of Aung San Suu Kyi and U Win Myin without any condition for the sake of transparency and expressing intentions to release them following humanitarian principles, and for their health as was announced to the international society.
  2. Kim Aris should be granted permission to see his mother as a family member according to humanitarian principles.
  3. The international society, ASEAN and Thailand should condemn and protest against this action, without acknowledging legitimacy in the government led by Min Aung Hliang from now on.
  4. The international society, ASEAN and Thailand, abiding to international humanitarian principles, should revise their foreign policies with Myanmar in order to cause positive changes in the region.
  5. The international society, ASEAN and Thailand should support people in Myanmar in restoration of and transition to sustainable democracy in the country.

25 องค์กรและ 44 บุคคลร่วมลงนามในแถลงการณ์ร่วมประณาม มิน อ่อง ลายที่จะใช้นางออง ซานซู จี เป็นโลห์มนุษย์ป้องกันการโจมตีเนปิดอว์จากกองกำลังต่อต้านชาติพันธ์ุ

พวกเราเรียกร้องให้

  1. มินอองลายและกองทพัพม่าต้องเปิดเผยสถานภาพและสถานที่กักขังของออง ซาน ซูจี และอู วิน มิน โดยททันทีอย่างไม่มีเงื่อนไข
  2. คิม อีริค ควรได้รับอนุญาตในการเข้าพบแม่ของเธอในฐานะที่เป็นสมาชิกครอบครัวให้เป็นไปตามหลักมนุษยธรรม
  3. ประชาคมโลก อาเซียนและประเทศไทย ต้องประณามและคัดค้านการกระทำนี้ ทั้งไม่ยอมรับความชอบธรรมในการปกครองประเทศพม่าของ มิน ออง ลายอีกต่อไป
  4. ประชาคมโลก อาเซียนและประเทศไทยต้องมีการทบทวนท่าที นโยบายต่างประเทศต่อประเทศเมียนมาร์ ซึ่งจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคและต้องยึดมั่นในหลักการมนุษยธรรมสากล
  5. ประชาคมโลก อาเซียนและประเทศไทยต้องช่วยเหลือประชาชนพม่าในการฟื้นฟูประเทศชาติ สนับสนุนการเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตยของ เมียนมาร์อย่างยั่งยืน

Access full statement: https://drive.google.com/file/d/1wFPR3i4IifAycfUCr7nLF9byI9dPqn1Q/view?usp=sharing

The post Open Joint Statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces (Thai language inside) appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/open-joint-statement-of-condemnation-against-min-aung-hlaings-act-of-using-aung-san-suu-kyi-as-human-shield-from-attacks-by-ethnic-military-forces-thai-language-inside/feed/ 0 9141
ใครคอร์รัปมากกว่ากัน? https://pefthailand.org/%e0%b9%83%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%84%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%9b%e0%b8%a1%e0%b8%b2%e0%b8%81%e0%b8%81%e0%b8%a7%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%81%e0%b8%b1%e0%b8%99/ https://pefthailand.org/%e0%b9%83%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%84%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%9b%e0%b8%a1%e0%b8%b2%e0%b8%81%e0%b8%81%e0%b8%a7%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%81%e0%b8%b1%e0%b8%99/#respond Thu, 21 Mar 2024 01:10:07 +0000 https://pefthailand.org/?p=9049 ใครคอร์รัปมากกว่ากัน? คำถามนี้คงเป็นคำถามที่ตอบได้ยาก เพราะปัญหาคอร์รัปชั่นนั้นอยู่คู่กับสังคมไทยมาโดยตลอด ทุกสถาบันในสังคมไทยล้วนมีประวัติที่เกี่ยวข้องกับการคอร์รัปชั่นทั้งนั้น แต่การคอร์รัปชั่นจะส่งผลเลวร้ายที่สุดเมื่อผู้มีอำนาจสูงสุดของรัฐเป็นผู้ทำการคอร์รัป คำถามต่อมาที่สำคัญก็คือรัฐบาลประเภทไหนที่คอร์รัปมากกว่ากัน ในบทความนี้จะเป็นผลสรุปของการศึกษาการคอร์รัปชั่นของรัฐบาลโดยเปรียบเทียบผลลัพธ์ระหว่างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งและรัฐบาลเผด็จการที่ได้อำนาจมาจากการรัฐประหาร “การเสียชีวิตของจอมพล สู่การเปิดเผยคอร์รัปชั่น” การเสียชีวิตของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชในปี 1963 ได้นำไปสู่การเปิดเผยทรัพย์สินที่ถูกถือครองอยู่จำนวน 2,800 ล้านบาท ซึ่งได้พบว่ามีการใช้เงินของรัฐบาลในการนำไปต่อยอดลงทุนทรัพย์สินเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัวและคนใกล้ชิด จอมพลสฤษดิ์และภรรยานั้นมีทรัพย์สินอยู่ในกว่า 45 บริษัทเอกชน มีการถือครองบัญชีธนาคารมากมายและครอบครองที่ดินกว่า 9,000 ไร่ จากการตรวจสอบพบว่า เงินกว่า 394 ล้านบาทนั้นมาจากงบลับของกองทุนตรวจสอบความมั่นคงภายใต้อำนาจของนายกรัฐมนตรี 240 ล้านบาทหน่วยงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และประมาณ 100 ล้านบาทจากส่วนแบ่งกำไรยอดขายของสลากกินแบ่งรัฐบาล โดยรัฐบาลต่อมาสามารถยึดทรัพย์สินคืนได้เพียง 604 ล้านบาทเท่านั้น ซึ่งเป็นประมาณเพียง 20% ของทรัพย์สินทั้งหมดที่สามารถยึดคืนได้เท่านั้น   “การคอร์รัปชั่นภายใต้รัฐบาลชาติชายและการรัฐประหาร” จนกระทั่งในปี 1988 ประเด็นคอร์รัปชั่นได้กลับมาถูกพูดถึงอีกครั้งในยุคของรัฐบาลชาติชาย ชุนหะวัน ซึ่งเป็นยุคที่เศรษฐกิจเติบโต มีโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมากมายจากรัฐบาล แต่ละโปรเจคนั้นมีงบการพัฒนาสูงถึงหลายพันล้านบาท ซึ่งมีข่าวลือและการคาดการณ์ว่ามีการรับ “สินบน” ในโครงการพัฒนาเหล่านั้น  เจ้าหน้าที่รัฐบางคนที่ถูกแต่งตั้งโดยนายกชาติชายนั้นถูกกล่าวหาว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการเหล่านี้ ขอบเขตของการคอร์รัปชั่นนั้นยังถูกขยายไปถึงงบสนับสนุนด้านมนุษยธรรมจากต่างประเทศในการช่วยเหลือผู้ลี้ภัย ทหารและกองทัพก็มีข่าวลือในด้านลบจากการรับ “เงินทอน” จากการซื้อขายอาวุธ และในท้ายที่สุดรัฐบาลชาติชายก็ถูกรัฐประหารจากข้อกล่าวหาเรื่องคอร์รัปชั่น […]

The post ใครคอร์รัปมากกว่ากัน? appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
ใครคอร์รัปมากกว่ากัน?

คำถามนี้คงเป็นคำถามที่ตอบได้ยาก เพราะปัญหาคอร์รัปชั่นนั้นอยู่คู่กับสังคมไทยมาโดยตลอด ทุกสถาบันในสังคมไทยล้วนมีประวัติที่เกี่ยวข้องกับการคอร์รัปชั่นทั้งนั้น แต่การคอร์รัปชั่นจะส่งผลเลวร้ายที่สุดเมื่อผู้มีอำนาจสูงสุดของรัฐเป็นผู้ทำการคอร์รัป คำถามต่อมาที่สำคัญก็คือรัฐบาลประเภทไหนที่คอร์รัปมากกว่ากัน ในบทความนี้จะเป็นผลสรุปของการศึกษาการคอร์รัปชั่นของรัฐบาลโดยเปรียบเทียบผลลัพธ์ระหว่างรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งและรัฐบาลเผด็จการที่ได้อำนาจมาจากการรัฐประหาร

“การเสียชีวิตของจอมพล สู่การเปิดเผยคอร์รัปชั่น”

การเสียชีวิตของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชในปี 1963 ได้นำไปสู่การเปิดเผยทรัพย์สินที่ถูกถือครองอยู่จำนวน 2,800 ล้านบาท ซึ่งได้พบว่ามีการใช้เงินของรัฐบาลในการนำไปต่อยอดลงทุนทรัพย์สินเพื่อผลประโยชน์ส่วนตัวและคนใกล้ชิด จอมพลสฤษดิ์และภรรยานั้นมีทรัพย์สินอยู่ในกว่า 45 บริษัทเอกชน มีการถือครองบัญชีธนาคารมากมายและครอบครองที่ดินกว่า 9,000 ไร่ จากการตรวจสอบพบว่า เงินกว่า 394 ล้านบาทนั้นมาจากงบลับของกองทุนตรวจสอบความมั่นคงภายใต้อำนาจของนายกรัฐมนตรี 240 ล้านบาทหน่วยงานสลากกินแบ่งรัฐบาล และประมาณ 100 ล้านบาทจากส่วนแบ่งกำไรยอดขายของสลากกินแบ่งรัฐบาล โดยรัฐบาลต่อมาสามารถยึดทรัพย์สินคืนได้เพียง 604 ล้านบาทเท่านั้น ซึ่งเป็นประมาณเพียง 20% ของทรัพย์สินทั้งหมดที่สามารถยึดคืนได้เท่านั้น  

“การคอร์รัปชั่นภายใต้รัฐบาลชาติชายและการรัฐประหาร”

จนกระทั่งในปี 1988 ประเด็นคอร์รัปชั่นได้กลับมาถูกพูดถึงอีกครั้งในยุคของรัฐบาลชาติชาย ชุนหะวัน ซึ่งเป็นยุคที่เศรษฐกิจเติบโต มีโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานมากมายจากรัฐบาล แต่ละโปรเจคนั้นมีงบการพัฒนาสูงถึงหลายพันล้านบาท ซึ่งมีข่าวลือและการคาดการณ์ว่ามีการรับ “สินบน” ในโครงการพัฒนาเหล่านั้น  เจ้าหน้าที่รัฐบางคนที่ถูกแต่งตั้งโดยนายกชาติชายนั้นถูกกล่าวหาว่ามีส่วนเกี่ยวข้องกับกระบวนการเหล่านี้ ขอบเขตของการคอร์รัปชั่นนั้นยังถูกขยายไปถึงงบสนับสนุนด้านมนุษยธรรมจากต่างประเทศในการช่วยเหลือผู้ลี้ภัย ทหารและกองทัพก็มีข่าวลือในด้านลบจากการรับ “เงินทอน” จากการซื้อขายอาวุธ และในท้ายที่สุดรัฐบาลชาติชายก็ถูกรัฐประหารจากข้อกล่าวหาเรื่องคอร์รัปชั่น ภายหลังจากการรัฐประหาร เกิดการพยายามสร้างข่าวให้เห็นว่ารัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งมีความชั่วร้ายมากกว่าในการคอร์รัปชั่น

“งบประมาณของรัฐที่สูญเสียไปกับการคอร์รัปชั่น”

รูปแบบการคอร์รัปชั่นที่มาจากอำนาจรัฐส่วนใหญ่จะมีลักษณะของการได้รับส่วนแบ่ง (kickback) หรือการโกงจากงบโครงการพัฒนาระดับใหญ่ๆของรัฐ ยิ่งโครงการยิ่งใหญ่ยิ่งได้รับเปอร์เซ็นต์หรือเงินทอนที่มากขึ้น หลังจากนั้นไทยได้มีการแต่งตั้งองค์กรที่มีหน้าที่ตรวจสอบคอร์รัปชั่นขึ้นมาได้แก่ คณะป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (the Counter Corruption Commission: CCC) และสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน (the Office of Auditor General: OAG) ทั้งสองคณะได้มีการตรวจสอบรูปแบบของโครงการพัฒนาของรัฐที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการคอร์รัปชั่นได้หลายลักษณะ โดยเฉพาะในช่วงก่อน ปี 1976

  • การซื้อที่ดินเกินราคาประเมิน: ในปี 1972 มีการค้นพบเคสกรณีที่กรมตำรวจซื้อที่ดินเกินราคาประเมิน โดยครั้งนั้นรัฐจ่ายเงินเกินไปโดยประมาณ 23.4 ล้านบาทโดยมีราคาสูงกว่าราคาประเมินถึง 52 เปอร์เซ็นต์จากงบโครงการ
  • การร่วมลงทุนในโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของรัฐ: ในช่วงปี 1968-1972 มีการพบว่ามีความไม่โปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างภายใต้โครงการของรัฐ เช่น การซื้อวัสดุก่อสร้างเกินราคา การใช้จ่ายที่ไม่สมเหตุสมผล โดยงบที่ใช้จ่ายเป็นเงินมาจากงบของรัฐบาล มีการประเมินว่าในหนึ่งโครงการมีการจัดซื้อเกินราคาประมาณอย่างต่ำที่สุดคือ 13.4 เปอร์เซ็นต์จากงบของโครงการ
  • สิ่งปลูกสร้างที่ไม่ได้มาตราฐาน: ในช่วงปี 1968 มีการค้นพบการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างของรัฐที่ไม่ได้มาตรฐาน ตัวสิ่งปลูกสร้างมีอาการพังทลายซึ่งมีเหตุมาจากการรับน้ำหนักไม่ไหว จากการสืบสวนพบว่ามีการใช้วัสดุที่ไม่เป็นไปตามมาตราฐานก่อสร้าง ในเคสหนึ่งจากเสียหายจากการก่อสร้างโรงเรียนของรัฐ พบว่ามีการโกงจากงบประมาณ 42-50 เปอร์เซ็นต์จากงบก่อสร้างทั้งหมด
  • การจัดซื้อจัดจ้าง: ในปี 1970 โครงการก่อสร้างเขื่อนชลประทาน มีการพบการโกงการซื้อขายจำนวนปูนซีเมนส์ในการผลิตแต่ละวัน ซึ่งมีจำนวนซีเมนส์ที่ได้มาน้อยกว่าที่ตกลงกันตามใบสัญญาจัดซื้อจัดจ้าง
  • การปลอมแปลงใบเสร็จ: ในช่วงปี 1973 มีการค้นพบว่าเทศบาลอยุธยาได้ปลอมใบเสร็จจากโครงการซ่อมถนน และจากการสืบสวนตรวจสอบพบว่าไม่ได้มีการซ่อมถนนจริง ถือว่าเป็นการคอร์รัปชั่นทั้งหมด 100% จากงบประมาณของโครงการ และมีการตรวจพบการปลอมแปลงใบเสร็จอีกในหลายโครงการ
  • การคอร์รัปชั่นการซื้อที่ดินจากโครงการปลูกป่า: มีการค้นพบการคอร์รัปชั่นภายใต้โครงการปลูกป่าของรัฐ โดยการใช้พื้นที่ปลูกป่าใหม่จำนวน 3,000 ไร่ โดยมีต้นทุนอยู่ที่  700 บาทต่อไร่ แต่พอถึงเวลาจริงมีการค้นพบว่ามีการปลูกพื้นป่าจริงเพียงแค่ 2,400 ไร่

ยังมีการค้นพบถึงการคอร์รัปชั่นอีกมากที่มาจากโครงการภายใต้รัฐบาล เช่น การร่ำรวยผิดปกติของเจ้าหน้าระดับสูง การลักขโมยและยักยอกทรัพย์สินของรัฐเป็นของส่วนตน และภายใต้รัฐบาลทหารมีการพบเจอประเด็นคอร์รัปชั่นเกี่ยวกับการซื้ออาวุธของกองทัพด้วย การคอร์รัปชั่นภายใต้โครงการพัฒนาของรัฐทำให้ประเทศชาติล้วนสูญเสียทรัพยากรที่ควรจะนำไปพัฒนาให้กับประชาชนจำนวนมาก ซึ่งล้วนเป็นหน้าที่รับผิดชอบของรัฐบาลและผู้มีอำนาจในแต่ละยุคสมัย

“เปรียบเทียบความรุนแรงจากการคอร์รัปชั่นระหว่างรัฐบาลเลือกตั้งและรัฐบาลเผด็จการ”

จากการศึกษาเปรียบเทียบเรื่องความรุนแรงจากการคอร์รัปชั่นระหว่างรัฐบาลที่มาจากเลือกตั้งและการรัฐประหาร โดยเปรียบเทียบระหว่างสองรัฐบาลคือรัฐบาลทหารยุคของจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชและรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งของรัฐบาลชาติชาย ชุนหะวัน พบว่าสัดส่วนการคอร์รัปชั่นจากรัฐบาลทหารมีจำนวนมากกว่า โดยประเมินว่าในแต่ละปีจำนวนงบประมาณที่ถูกคอร์รัปชั่นภายใต้จอมพลสฤษดิ์คือประมาณ 0.14 % ของ GDP ซึ่งในช่วงรัฐบาลชาติชายมีสัดส่วนประมาณ 0.04 % ­ของ GDP จากตัวเลขจะเห็นได้ว่าคอร์รัปชั่นภายใต้รัฐบาลเผด็จทหารนั้นมีสัดส่วนที่ ”มากกว่า” การคอร์รัปชั่นภายใต้รัฐบาลพลเรือน
(การศึกษาครั้งนี้ สามารถตรวจสอบทรัพย์สินของจอมพลสฤษดิ์ได้เพียงบางส่วนเท่านั้น ยังมีทรัพย์สินอีกบางส่วนที่ไม่สามารถตรวจสอบได้)

อย่างไรก็ดีการตรวจสอบคอร์รัปชั่นจากสองรัฐบาลก็ยังมีข้อจำกัดอีกมากในการตรวจสอบทั้งหมด ยิ่งการเข้าถึงหลักฐานข้อมูลจากรัฐบาลเผด็จการนั้นก็ทำได้ยากมาก มีเจ้าหน้าที่ระดับสูงของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินได้อธิบายว่าการตรวจสอบคอร์รัปชั่นภายใต้รัฐบาลเผด็จการนั้นทำได้ยาก เพราะการรวมศูนย์อำนาจและไม่สามารถเข้าถึงข้อมูลได้ ในส่วนของรัฐบาลพลเรือนนั้นแม้ว่าจะมีการพบเจอการคอร์รัปชั่นเช่นกัน แต่ก็เป็นการคอร์รัปชั่นที่ถูกตรวจสอบได้ง่ายกว่าและมีกลไกตรวจสอบ

กล่าวโดยสรุป อำนาจทางการเมืองทางปกครองมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการคอร์รัปชั่น แม้ว่าการคอร์รัปชั่นสามารถเกิดขึ้นได้ทั้งรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งและรัฐบาลเผด็จการ แต่โดยผลลัพธ์แล้วรัฐบาลเผด็จการมีโอกาสที่จะเกิดการคอร์รัปชั่นได้มากกว่าเนื่องจากการรวมศูนย์ของอำนาจเบ็ดเสร็จและยากในการตรวจสอบ เพราะฉะนั้นหนึ่งในการแก้ไขปัญหาคอร์รัปชั่นที่ดีคือการสร้างระบบรัฐที่มีความโปร่งใส มีการคานอำนาจการตรวจสอบระหว่างกัน ระบบการปกครองแบบประชาธิปไตยจึงมีความสำคัญมากในการสร้างกลไกตรวจสอบและป้องกันคอร์รัปชั่น ภาคประชาชนทุกคนจึงควรให้ความสำคัญกับการมีส่วนร่วมทางการเมือง การร่วมตรวจสอบและต่อต้านการรัฐประหารหรือรูปแบบของอำนาจเผด็จการนิยมทุกรูปแบบ และที่สำคัญการรัฐประหารไม่ใช่วิธีการที่ถูกต้องในการแก้ปัญหาคอร์รัปชั่น

Key Point

*การแก้ปัญหาการคอร์รัปชั่นด้วยการรัฐประหารเป็นสิ่งที่ไม่ถูกต้อง

*การตรวจสอบคอร์รัปชั่นของรัฐบาลเผด็จการทหาร ทำได้ยากมาก เพราะการรวมศูนย์ของอำนาจ

*รัฐบาลสฤษดิ์ (1957-1963) พบว่ามีทรัพย์สินทั้งหมด 2,874 ล้านบาท (ถูกตัดสินยึดคืนแก่แผ่นดิน 604 ล้านบาท)

*รัฐบาลชาติชาย (1988-1990) ถูกค้นพบว่ามีนักการเมือง 10 คน ที่ถูกยึดทรัพย์สินรวมกัน 1,900 ล้านบาท (โดยนายกชาติชายถูกยึดทรัพย์จำนวน 284 ล้านบาท)

* 2,874,000,000 บาทในปี 1963 มีมูลค่าเท่ากับ 12,961,000,000 บาทในปัจจุบันปี 2024 (คิดอัตราเงินเฟ้อ 2.5% ต่อปี)

* 1,900,000,000 บาทในปี 1990 มีมูลค่าเท่ากับ 4,399,000,000 บาท (คิดอัตราเงินเฟ้อ 2.5% ต่อปี)

*** เนื้อหน้าจากหนังสือ Corruption and Democracy in Thailand บทที่ 2 โดยอาจารย์ผาสุก พงษ์ไพจิตรและอาจารย์สังศิต พิริยะรังสรรค์ ***

#PEF #peoplesempowermentfoundation #มูลนิธิศักยภาพชุมชน #anticorruption

The post ใครคอร์รัปมากกว่ากัน? appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/%e0%b9%83%e0%b8%84%e0%b8%a3%e0%b8%84%e0%b8%ad%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%a3%e0%b8%b1%e0%b8%9b%e0%b8%a1%e0%b8%b2%e0%b8%81%e0%b8%81%e0%b8%a7%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b8%81%e0%b8%b1%e0%b8%99/feed/ 0 9049
การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 4 “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน” https://pefthailand.org/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%95%e0%b8%b9%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%b4%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b8%b4%e0%b8%a1%e0%b8%99%e0%b8%b8%e0%b8%a9%e0%b8%a2%e0%b8%8a%e0%b8%99-%e0%b8%95%e0%b8%ad-3/ https://pefthailand.org/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%95%e0%b8%b9%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%b4%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b8%b4%e0%b8%a1%e0%b8%99%e0%b8%b8%e0%b8%a9%e0%b8%a2%e0%b8%8a%e0%b8%99-%e0%b8%95%e0%b8%ad-3/#respond Mon, 18 Mar 2024 05:56:52 +0000 https://pefthailand.org/?p=9039 การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 4 “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน” หลายคนอาจจะเคยได้ยินคำว่า “กสม” หรือคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนบ้าง แต่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ถึงหลักการพื้นฐานและที่มาของ กสม และเหตุผลของการตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนในประเทศ โดยคำนิยามของ GANHRI (Global Alliance of National Human Rights Institutions) สถาบันสิทธิมนุษยชนจะต้องทำหน้าที่สำคัญในการรณรงค์และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่ทุกคนภายใต้อธิปไตยของประเทศนั้น สถาบันสิทธิฯควรถูกก่อตั้งโดยถูกรับรองจากรัฐธรรมนูญและรัฐบาล โดยมีอำนาจในการทำงานตรวจสอบและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่คนทุกคน  สถาบันสิทธิฯควรจะได้รับงบประมาณที่เหมาะสมจากรัฐในการทำงาน และควรมีความเป็นอิสระในการทำงาน ไม่ควรถูกครอบงำโดยอำนาจของรัฐหรืออำนาจใดๆ บทบาทหนึ่งที่สำคัญคือการที่มีอำนาจในการนำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนแก่รัฐบาลในประเทศนั้นๆ และสถาบันสิทธิฯควรยึดถือหลักการสิทธิฯสากลเพื่อพัฒนาให้ประเทศเหล่านี้มีการพัฒนาด้านสิทธิฯให้เป็นไปตามหลักการสากล ตามหลักการสากล “ทุกประเทศ” ควรมีสถาบันสิทธิมนุษยชนเพื่อคอยทำหน้าที่ตรวจสอบและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในตอนนี้ขอเชิญทุกคนมาร่วมเรียนรู้ด้วยกันถึงกลไกสิทธิมนุษยชนระดับชาติ ถึงที่มา บทบาทและความสำคัญของสถาบันสิทธิมนุษยชนด้วยกัน #NHRI #NHRCT #PEF #humanrights หลักการการก่อตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนในระดับประเทศนั้นจริงๆ เป็นหลักการสากลที่มาจากที่ประชุมในเวทีของสหประชาชาติ ซึ่งถูกพูดถึงครั้งแรกในปี 1946 โดยมีข้อเสนอจาก สภาเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติได้เสนอให้แต่ละรัฐบาลก่อตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนระดับประเทศ เพื่อทำงานรณรงค์และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในแต่ละประเทศ ซึ่งข้อเสนอนี้มีการก่อนการเกิดขึ้นของปฏิญญาสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ 2 ปี จากนั้นใช้เวลาอีกหลายปีจนถึงปี 1978 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ ได้ผลักดันประเด็นนี้อีกครั้งในที่ประชุมใหญ่ของสหประชาชาติ (General Assembly) อีกครั้ง จนในปี 1991 […]

The post การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 4 “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 4 “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน”

หลายคนอาจจะเคยได้ยินคำว่า “กสม” หรือคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนบ้าง แต่หลายคนอาจจะยังไม่รู้ถึงหลักการพื้นฐานและที่มาของ กสม และเหตุผลของการตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนในประเทศ

โดยคำนิยามของ GANHRI (Global Alliance of National Human Rights Institutions) สถาบันสิทธิมนุษยชนจะต้องทำหน้าที่สำคัญในการรณรงค์และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่ทุกคนภายใต้อธิปไตยของประเทศนั้น สถาบันสิทธิฯควรถูกก่อตั้งโดยถูกรับรองจากรัฐธรรมนูญและรัฐบาล โดยมีอำนาจในการทำงานตรวจสอบและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนแก่คนทุกคน  สถาบันสิทธิฯควรจะได้รับงบประมาณที่เหมาะสมจากรัฐในการทำงาน และควรมีความเป็นอิสระในการทำงาน ไม่ควรถูกครอบงำโดยอำนาจของรัฐหรืออำนาจใดๆ บทบาทหนึ่งที่สำคัญคือการที่มีอำนาจในการนำเสนอแนวทางแก้ไขปัญหาด้านสิทธิมนุษยชนแก่รัฐบาลในประเทศนั้นๆ และสถาบันสิทธิฯควรยึดถือหลักการสิทธิฯสากลเพื่อพัฒนาให้ประเทศเหล่านี้มีการพัฒนาด้านสิทธิฯให้เป็นไปตามหลักการสากล

ตามหลักการสากล “ทุกประเทศ” ควรมีสถาบันสิทธิมนุษยชนเพื่อคอยทำหน้าที่ตรวจสอบและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในตอนนี้ขอเชิญทุกคนมาร่วมเรียนรู้ด้วยกันถึงกลไกสิทธิมนุษยชนระดับชาติ ถึงที่มา บทบาทและความสำคัญของสถาบันสิทธิมนุษยชนด้วยกัน

#NHRI #NHRCT #PEF #humanrights

หลักการการก่อตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนในระดับประเทศนั้นจริงๆ เป็นหลักการสากลที่มาจากที่ประชุมในเวทีของสหประชาชาติ ซึ่งถูกพูดถึงครั้งแรกในปี 1946 โดยมีข้อเสนอจาก สภาเศรษฐกิจและสังคมของสหประชาชาติได้เสนอให้แต่ละรัฐบาลก่อตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนระดับประเทศ เพื่อทำงานรณรงค์และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในแต่ละประเทศ ซึ่งข้อเสนอนี้มีการก่อนการเกิดขึ้นของปฏิญญาสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ 2 ปี

จากนั้นใช้เวลาอีกหลายปีจนถึงปี 1978 คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนของสหประชาชาติ ได้ผลักดันประเด็นนี้อีกครั้งในที่ประชุมใหญ่ของสหประชาชาติ (General Assembly) อีกครั้ง

จนในปี 1991 ได้เกิดการฝึกอบรมครั้งแรกเกี่ยวกับการจัดตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนระดับประเทศ ในประเทศฝรั่งเศส จึงเกิดหลักการพื้นฐานของสถาบันสิทธิมนุษยชนขึ้น เรียกว่า “หลักการปารีส” (Paris Principle) ซึ่งสถาบันสิทธิฯในทุกประเทศจำเป็นต้องยึดตามหลักการปารีสนี้ เป็นคุณลักษณะพื้นฐานของสถาบันสิทธิมนุษยชนในทุกประเทศ

ในปี 1993 ได้มีการก่อตั้งองค์กรสากลที่คอยตรวจสอบสถานการณ์ทำงานของสถาบันสิทธิฯระดับชาติทั่วโลก (ตอนนั้นใช้ชื่อว่า the International Coordinating Committee of the National Institute: ICC) ซึ่งในภายหลังในปี 2016 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น Global Alliance of National Human Rights Institutions (GANHRI) โดยมีบทบาทสำคัญในการสนับสนุนสถาบันสิทธิฯในทุกประเทศ และให้การรับรองสถานะของสถาบันสิทธิฯในแต่ละประเทศว่าเป็นไปตามหลักการปารีสหรือไม่

TIP: ประเทศแรกที่ตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนได้แก่ ออสแตเรีย ซึ่งก่อตั้งในปี 1970 ซึ่งต่อมาประเทศนิวซีแลนด์และฟิลิปปินส์ได้ก่อตั้งตามมา  

หลักการปารีส (Paris Principle) ถือเป็นหลักการสำคัญพื้นฐานของสถาบันสิทธิมนุษยชนระดับชาติ โดยรัฐบาลทุกรัฐจะต้องให้บทบาทและอำนาจพื้นฐานในการทำงานด้านสิทธิมนุษยชนดังนี้

1. มีเป้าหมาย ในการทำงานรณรงค์และคุ้มครองสิทธิมนุษยชน

2. มีอำนาจและหน้าที่ ในการให้ข้อเสนอแนะและติดตามสถานการณ์สิทธิฯที่ถูกร้องเรียน รวมถึงการให้การศึกษาสิทธิมนุษยชน

3. มีความเป็นอิสระจากรัฐบาล สถาบันสิทธิฯต้องมีอิสระจากรัฐ โดยต้องถูกรับรองโดยกฎหมายและรัฐธรรมนูญ

4. มีความหลากหลาย คณะกรรมการสิทธิฯควรประกอบด้วยตัวแทนที่มาจากความหลากหลายทางสังคม

5. มีอำนาจในการตรวจสอบ ต้องอำนาจในการตรวจสอบและสามารถเข้าถึงเอกสาร หลักฐานต่างๆในการตรวจสอบ

6. มีทรัพยากรที่เพียงพอและเหมาะสม ต้องได้รับเงินสนับสนุน เจ้าหน้าที่ ในการทำงานด้านมนุษยชนอย่างเพียงพอและเหมาะสมในการดำเนินงาน

7. มีความร่วมมือ ต้องทำงานร่วมกับสถาบันด้านสิทธิฯประเทศอื่นๆ รวมถึงองค์กรภาคประชาสังคม

8. ร่วมมือกับกลไกระหว่างประเทศ ต้องทำงานร่วมกับกลไกสิทธิฯระหว่างประเทศระดับสากลและภูมิภาค  

GANHRI จะมีบทบาทในการประเมินตามหลักเกณฑ์สถาบันสิทธิฯในแต่ละประเทศ ตามหลักการปารีส โดยแบ่งเป็น 3 ลักษณะ ได้แก่

  • สถานะ A – สถาบันสิทธิฯที่ทำงานตามหลักการปารีส
  • สถานะ B – สถาบันสิทธิฯที่ทำงานตามหลักการปารีสได้เพียงบางส่วน
  • สถานะ C –  สถาบันสิทธิฯที่ไม่ได้ทำงานตามหลักการปารีส

อย่างไรก็ดีสถาบันสิทธิฯระดับประเทศนั้น ต้องมีการทำงานร่วมกันในระดับภูมิภาคจนถึงระดับสากลโลกด้วย ในแต่ละภูมิภาคได้มีการสร้างรูปแบบการทำงานระหว่างภูมิภาคเพื่อประชุมและหารือในประเด็นสิทธิฯ ระหว่างภูมิภาค โดยแบ่งเป็น 4 ภูมิภาคได้แก่

  • The Network of African National Human Rights Institutions มีสมาชิกร่วม 33 ประเทศ
  • The Network of National Institutions for the Promotion and Protection of Human Rights in the Americas มีสมาชิกร่วม 18 ประเทศ
  • The Asia-Pacific Forum of National Human Rights Institutions มีสมาชิกร่วม 28 ประเทศ
  • The European Group of National Institutions for the Promotion and Protection of Human Rights มีสมาชิกร่วม 37 ประเทศ

ปัจจุบันในภูมิภาคอาเซียนมีสมาบันสิทธิมนุษยชนแค่เพียง 5 ประเทศเท่านั้น ได้แก่ พม่า ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซียและมาเลเซีย

ในส่วนของสถาบันสิทธิมนุษยชนของไทยนั้น ได้เริ่มก่อตั้งขึ้นเมื่อปี 2004 และมีชื่ออย่างเป็นทางการว่า “คณะกรรมการสถาบันสิทธิมนุษยชนประเทศไทย: กสม” (The National Human Rights Commission Thailand: NHRCT) โดย กสม ของไทยคณะปัจจุบันนั้นได้ถูกรับรองโดยรัฐธรรมนูญปี 2560 มาตรา 246 และ 247 และได้มี พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ (พรป) ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งประชาติ 2560 ประกอบคู่กันอีกฉบับ ซึ่งมีอำนาจในการกำหนดบทบาทของ กสม ไทยในปัจจุบัน

โดย พรป ว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งประชาติ 2560 ได้กำหนดกระบวนการคัดสรร กสม ซึ่งมาจากการแต่งตั้งทีมคัดสรรและต้องได้รับการรับรองโดยวุฒิสภา (สว)

กสม ของไทยเคยถูกลดสถานะให้เป็น B ครั้งหนึ่งในปี 2015 และได้กลับมาเลื่อนสถานะเป็น A อีกครั้งในปี 2022

ตามรัฐธรรมนูญ 2560 กสม มีจำนวนคณะกรรมการ 7 คน ในปี 2563 มีงบประมาณในการทำงาน 222 ล้านบาท และมีเจ้าหน้าที่ทั้งหมด 276 คน รวมถึงปัจจุบันมีศูนย์ประสานงานทั่วประเทศไทย 12 ศูนย์

กล่าวโดยสรุป สถาบันสิทธิมนุษยชนนั้นเป็นหลักการสากลในการผลักดันและสนับสนุนให้สมาชิกของยูเอ็นมีการก่อตั้งสถาบันสิทธิฯในประเทศ โดยควรยืนอยู่บนหลักการปารีส (Paris Principle) ที่ยึดถือเป็นหลักการพื้นฐานของสถาบันสิทธิฯ เพื่อทำงานสนับสนุนและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนภายใต้ขอบเขตอำนาจของรัฐบาลไทย และต้องมีความเป็นอิสระจากรัฐบาล

การทำงานของสถาบันสิทธิฯเหล่านี้ จะถูกทบทวนและตรวจสอบโดย Global Alliance of National Human Rights Institutions (GANHRI) ซึ่งจะทำงานคอยตรวจสอบว่าสถาบันสิทธิฯเหล่านี้ทำงานตามหลักการปารีสหรือไม่ และคอยกำหนดให้การรับรองสถานะคุณของสถาบันสิทธิฯในแต่ละประเทศ

ในอาเซียนปัจจุบันมีสถาบันสิทธิฯเพียงห้าประเทศเท่านั้น ได้แก่ เมียนม่า ไทย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซียและมาเลเซีย ซึ่งมีเพียงประเทศเมียนม่าเท่านั้นที่มีสถานะ B

The post การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 4 “คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%95%e0%b8%b9%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%b4%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b8%b4%e0%b8%a1%e0%b8%99%e0%b8%b8%e0%b8%a9%e0%b8%a2%e0%b8%8a%e0%b8%99-%e0%b8%95%e0%b8%ad-3/feed/ 0 9039