Article: Refugees: “Bribes to Live: The Myanmar Heros who Became Refugees in Thailand: A Story of Activism, Defiance, Courage, and, Above All, The Resilience to Confront the Corruption that Transcends The Myanmar-Thai Border”

Since the 2021 military coup in Myanmar, many Myanmar refugees have fled the country to seek asylum in Thailand in order to save their lives. It is estimated that nearly 4 million internally displaced persons, though the exact number of those seeking refuge in neighboring countries, including Thailand, remains unknown.

In reality, Myanmar has long faced political issues, and nine refugee camps that have existed for over 40 years have had an impact on shaping a system of corruption in Thailand, through the exploitation and extortion of these refugees.

“Legal to Steal” is a feeling rooted in both gratitude and fear in a situation of human instability. The definition of corruption from this group of friends may differ from what the general public in society considers, but this definition is derived from the complexities of political conflict, the allocation of shared benefits, armed conflict, and the struggle to survive in a society that currently has no laws to protect them.

Access full article:

https://drive.google.com/file/d/10Dr4EIwBcSnHwoF1qrwFziuPVB16Vv6U/view?usp=sharing

Article Indigenous and Ethnicity: “The Never-Defined Systemic Corruption toward the Indigenous Morgan, Morglan, and Uraklawoi People of Southern Thailand”

Indigenous and Ethnicity are a group of people with diverse beliefs and cultures. In Thailand,... read more

บทความ ชนเผ่าพื้นเมืองและชาติพันธุ์: “การฉ้อโกงอย่างเป็นระบบที่ไม่เคยมีการนิยามต่อชาวมอร์แกน มอร์แกลน และอุรัคลาโวย ในภาคใต้ของประเทศไทย”

ชาติพันธุ์คือกลุ่มคนที่มีความเชื่อและวัฒนธรรมที่หลากหลาย ในความเป็นไทยมีหลายชาติพันธุ์อาศัยอยู่ด้วยกันภายใต้ระบบรัฐของไทย ความเป็นชาติพันธุ์และชนเผ่าพื้นเมืองมีความแตกต่างกันตั้งแต่รูปแบบการใช้ชีวิต ความเชื่อ รวมถึงสิ่งแวดล้อมรอบข้างที่กลายเป็นส่วนสำคัญของความซับซ้อนในความเป็นมนุษย์  อย่างไรก็ดี ชาติไทยและชาติพันธุ์ ยังเป็นสิ่งที่คลุมเครือในเชิงการจัดสรรอำนาจระหว่างกลุ่มคนที่มีความเชื่อหลากหลาย ในบางครั้งก็ส่งผลถึงความขัดแย้งระหว่างอำนาจและวัฒนธรรมซึ่งเป็นสิ่งที่ประเมินได้ยาก ยังมีชาติพันธุ์หลายกลุ่มที่ยังรู้สึกไม่เป็นส่วนหนึ่ง “การถูกกดขี่ เอาเปรียบ และถูกละเลยจากเจ้าหน้าที่” กลายเป็นข้อสรุปของคำนิยามเกี่ยวกับการทุจริตของกลุ่มชาติพันธ์ุที่ให้ไว้ในบทสัมภาษณ์ ผ่านการลงพื้นที่ พูดคุย และได้พบเจอกับชุมชนชาวแลหลายชุมชนในพื้นที่ภาคใต้ของไทย... read more

Article: Refugees: “Bribes to Live: The Myanmar Heros who Became Refugees in Thailand: A Story of Activism, Defiance, Courage, and, Above All, The Resilience to Confront the Corruption that Transcends The Myanmar-Thai Border”

Since the 2021 military coup in Myanmar, many Myanmar refugees have fled the country to... read more

บทความ ผู้ลี้ภัย: “สินบนเพื่อความอยู่รอด: วีรชนชาวเมียรมาร์ที่กลายเป็นผู้ลี้ภัยในประเทศไทย: เรื่องราวของการเคลื่อนไหว การท้าทาย ความกล้าหาญ ความยืดหยุ่นในการรับมือกับการทุจริตข้ามพรมแดน เมียนมาร์-ไทย”

ตั้งแต่เหตุการณ์การรัฐประหารในปี 2021 ในเมียนมาร์ มีผู้ลี้ภัยชาวเมียนมาร์ต้องเดินทางอพยพเพื่อลี้ภัยจากเหตุการณ์ความไม่สงบมายังประเทศไทยเพื่อรักษาชีวิตของตัวเอง มีการคาดการณ์ว่ามีประชากรที่เป็นผู้ผลัดถิ่นในประเทศเกือบ 4 ล้านคน และไม่มีการทราบจำนวนแน่ชัดของผู้หนีภัยมายังประเทศเพื่อนบ้าน รวมถึงประเทศไทย   ในความเป็นจริงเมียนมาร์มีปัญหาทางการเมืองมาอย่างยาวนาน 9 แคมป์ผู้ลี้ภัยมากกว่า 40 ปี มีผลกระทบต่อการก่อร่างระบบทุจริตในไทย ผ่านการเอาเปรียบและขูดรีดผู้หนีภัยเหล่านี้  “การใช้กฎหมายเพื่อการขโมยและขูดรีด”... read more

Article Labour: “The Inequivalence of Power: The Struggle of Thai Labour Against the State and the Business Tycoons’s Systemic Corruption”

We all are laborers in one way or another, as long as work exists and... read more

บทความ แรงงาน: “ความต่างชั้นของดุลอำนาจ: การต่อสู้ของแรงงานไทยซึ่งคัดค้านอำนาจรัฐและการทุจริตเชิงระบบ”

พวกเราทุกคนถือเป็นแรงงานไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง ตราบเท่าที่มีการเกิดขึ้นของงานและการหมุนเวียนของระบบเศรษฐกิจ ในประเทศไทยแรงงานไทยมากมายต้องพึ่งพาการอยู่รอดด้วยการทำงานมากกว่าเวลาปกติ หรือการทำงานล่วงเวลา เพื่อให้มีรายได้พอเพียงกับการเอาตัวรอดในแต่ละวัน แรงงานหลายคนต้องทำงานอยู่ในสภาวะที่ยากลำบากและไม่สามารถมีชีวิตที่มีเวลาว่างเพื่อทำกิจกรรมอื่นได้  นอกจากสภาวะที่ยากลำบากแล้ว แรงงานหลายคนมักจะต้องพบเจอกับความไม่ยุติธรรมในระบบจ้างงาน ในหลายเคส แม้ว่าจะมีกฎหมายรับรองสิทธิแรงงาน แรงงานหลายคนก็ยังถูกเอาเปรียบ โดยไม่ได้รับค่าจ่าง ทำงานล่วงเวลา การไม่ได้รับสิทธิการคุ้มครองทางสังคมอื่นๆ แม้จะมีกฎหมายที่ซับซ้อนหลายฉบับ แต่แรงงานก็ยังถูกเอาเปรียบอยู่ “การเอาเปรียบทางชนชั้น”... read more

Article: “Youth Political Activists: From Silence to Protest: The Story of Youth Activists Tackling Corruption”

Thailand has a long history of political movements, which have often revolved around the demands... read more

บทความ เยาวชนนักกิจกรรมทางการเมือง: “จากความเงียบงันสู่การประท้วง: เรื่องราวของนักกิจกรรมหนุ่มสาวที่ต่อสู้กับการทุจริต”

ไทยมีประวัติศาสตร์กับการเคลื่อนไหวทางการเมืองมาอย่างยาวนาน ซึ่งวนเวียนอยู่กับการเรียกร้องของคนหนุ่มสาวในหลายรุ่นและการรัฐประหารทางการเมือง การเรียกร้องในแต่ละยุคสมัยมีความคล้ายคลึงที่มักจะวนเวียนอยู่กับการแก้รัฐธรรมนูญ การเรียกร้องสิทธิเสรีภาพและเปลี่ยนผ่านอำนาจทางการเมือง รวมถึงการรัฐประหาร ในยุคปัจจุบัน การเคลื่อนไหวทางการเมืองยังคงเกิดขึ้นเหมือนในประวัติศาสตร์ เส้นแบ่งระหว่าง “คดีความทางการเมือง” และ “เสรีภาพในการแสดงออก” ยังเป็นสิ่งที่แยกได้ยากตามมุมมองทางสังคมที่หลากหลาย มีนักกิจกรรมที่มากมายโดยคดีความหลังการออกมาเรียกร้องสิทธิเสรีภาพของตน “SLAPP” เป็นคนที่มักถูกใช้พูดถึงในกลุ่มนักกิจกรรม ว่าเป็นการปิดปากการแสดงออกทางการเมืองเพื่อเป็นการรักษาผลประโยชน์บางอย่าง  กลุ่มนักกิจกรรมเยาวชนได้ขยายคำนิยามของการทุจริตออกไปอย่างไรบ้าง... read more