ASEAN Archives - People’s Empowerment Foundation https://pefthailand.org/category/activities/asean/ We believes a world where democracy and human rights are achieved for all, and local communities are respected and included in policy-making processes. Thu, 13 Jun 2024 05:41:02 +0000 en-US hourly 1 https://wordpress.org/?v=6.6.2 https://pefthailand.org/wp-content/uploads/2023/07/Logo-3-85x85.png ASEAN Archives - People’s Empowerment Foundation https://pefthailand.org/category/activities/asean/ 32 32 Fact-Finding Humanitarian Report https://pefthailand.org/fact-finding-humanitarian-report/ https://pefthailand.org/fact-finding-humanitarian-report/#respond Wed, 01 May 2024 04:04:01 +0000 https://pefthailand.org/?p=9145 “1,000 – 3,000 is the number of people who have fled to the IDP camps” “Canvas, Tarpaulin and Tents are urgently needs for upcoming rainy season” “The medicines for congenital disease symptoms and the Oral Rehydration Salt (ORD) are needed” Fact-finding humanitarian report, PEF visited the field for donations and monitored the situation of IDPs […]

The post Fact-Finding Humanitarian Report appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
“1,000 – 3,000 is the number of people who have fled to the IDP camps” “Canvas, Tarpaulin and Tents are urgently needs for upcoming rainy season” “The medicines for congenital disease symptoms and the Oral Rehydration Salt (ORD) are needed”

Fact-finding humanitarian report, PEF visited the field for donations and monitored the situation of IDPs after the recent massive fight in the Myawaddy area, investigating the condition of IDPs. This report essentially reviews the needs of IDPs after impacted by armed conflict.

Please access to the full report: https://drive.google.com/file/d/1C9V8P1wRqSfPLG5VJNtgSd0kDGu-e5By/view?usp=sharing

The post Fact-Finding Humanitarian Report appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/fact-finding-humanitarian-report/feed/ 0 9145
Open Joint Statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces (Thai language inside) https://pefthailand.org/open-joint-statement-of-condemnation-against-min-aung-hlaings-act-of-using-aung-san-suu-kyi-as-human-shield-from-attacks-by-ethnic-military-forces-thai-language-inside/ https://pefthailand.org/open-joint-statement-of-condemnation-against-min-aung-hlaings-act-of-using-aung-san-suu-kyi-as-human-shield-from-attacks-by-ethnic-military-forces-thai-language-inside/#respond Sat, 27 Apr 2024 07:05:33 +0000 https://pefthailand.org/?p=9141 25 Organizations and 44 Individuals signed joint-statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces The key statement demands 25 องค์กรและ 44 บุคคลร่วมลงนามในแถลงการณ์ร่วมประณาม มิน อ่อง ลายที่จะใช้นางออง ซานซู จี เป็นโลห์มนุษย์ป้องกันการโจมตีเนปิดอว์จากกองกำลังต่อต้านชาติพันธ์ุ พวกเราเรียกร้องให้ Access full statement: https://drive.google.com/file/d/1wFPR3i4IifAycfUCr7nLF9byI9dPqn1Q/view?usp=sharing

The post Open Joint Statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces (Thai language inside) appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>

25 Organizations and 44 Individuals signed joint-statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces

The key statement demands

  1. Min Aung Hlaing and the State Administration Council (SAC) must immediately reveal the conditions and whereabouts of Aung San Suu Kyi and U Win Myin without any condition for the sake of transparency and expressing intentions to release them following humanitarian principles, and for their health as was announced to the international society.
  2. Kim Aris should be granted permission to see his mother as a family member according to humanitarian principles.
  3. The international society, ASEAN and Thailand should condemn and protest against this action, without acknowledging legitimacy in the government led by Min Aung Hliang from now on.
  4. The international society, ASEAN and Thailand, abiding to international humanitarian principles, should revise their foreign policies with Myanmar in order to cause positive changes in the region.
  5. The international society, ASEAN and Thailand should support people in Myanmar in restoration of and transition to sustainable democracy in the country.

25 องค์กรและ 44 บุคคลร่วมลงนามในแถลงการณ์ร่วมประณาม มิน อ่อง ลายที่จะใช้นางออง ซานซู จี เป็นโลห์มนุษย์ป้องกันการโจมตีเนปิดอว์จากกองกำลังต่อต้านชาติพันธ์ุ

พวกเราเรียกร้องให้

  1. มินอองลายและกองทพัพม่าต้องเปิดเผยสถานภาพและสถานที่กักขังของออง ซาน ซูจี และอู วิน มิน โดยททันทีอย่างไม่มีเงื่อนไข
  2. คิม อีริค ควรได้รับอนุญาตในการเข้าพบแม่ของเธอในฐานะที่เป็นสมาชิกครอบครัวให้เป็นไปตามหลักมนุษยธรรม
  3. ประชาคมโลก อาเซียนและประเทศไทย ต้องประณามและคัดค้านการกระทำนี้ ทั้งไม่ยอมรับความชอบธรรมในการปกครองประเทศพม่าของ มิน ออง ลายอีกต่อไป
  4. ประชาคมโลก อาเซียนและประเทศไทยต้องมีการทบทวนท่าที นโยบายต่างประเทศต่อประเทศเมียนมาร์ ซึ่งจะมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงในภูมิภาคและต้องยึดมั่นในหลักการมนุษยธรรมสากล
  5. ประชาคมโลก อาเซียนและประเทศไทยต้องช่วยเหลือประชาชนพม่าในการฟื้นฟูประเทศชาติ สนับสนุนการเปลี่ยนผ่านประชาธิปไตยของ เมียนมาร์อย่างยั่งยืน

Access full statement: https://drive.google.com/file/d/1wFPR3i4IifAycfUCr7nLF9byI9dPqn1Q/view?usp=sharing

The post Open Joint Statement of Condemnation against Min Aung Hlaing’s Act of Using Aung San Suu Kyi as Human Shield from Attacks by Ethnic Military Forces (Thai language inside) appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/open-joint-statement-of-condemnation-against-min-aung-hlaings-act-of-using-aung-san-suu-kyi-as-human-shield-from-attacks-by-ethnic-military-forces-thai-language-inside/feed/ 0 9141
Recommendations from “Closed Door Workshop on Advancing the Thai-Foreign Policy on Ethnic Groups Along the Thai-Myanmar Border” https://pefthailand.org/recommendations-from-closed-door-workshop-on-advancing-the-thai-foreign-policy-on-ethnic-groups-along-the-thai-myanmar-border/ https://pefthailand.org/recommendations-from-closed-door-workshop-on-advancing-the-thai-foreign-policy-on-ethnic-groups-along-the-thai-myanmar-border/#respond Mon, 18 Mar 2024 05:24:00 +0000 https://pefthailand.org/?p=9030 Recommendations from “Closed Door Workshop on Advancing the Thai-Foreign Policy on Ethnic Groups Along the Thai-Myanmar Border” On 24-25 February 2024, PEF co-organized a closed-door meeting with the Regional Center for Social Science and Sustainable Development (RCSD), Chiang Mai University, and The Institute of Security and International Studies (Thai ISIS). The meeting aims to strengthen […]

The post Recommendations from “Closed Door Workshop on Advancing the Thai-Foreign Policy on Ethnic Groups Along the Thai-Myanmar Border” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
Recommendations from “Closed Door Workshop on Advancing the Thai-Foreign Policy on Ethnic Groups Along the Thai-Myanmar Border”

On 24-25 February 2024, PEF co-organized a closed-door meeting with the Regional Center for Social Science and Sustainable Development (RCSD), Chiang Mai University, and The Institute of Security and International Studies (Thai ISIS). The meeting aims to strengthen security measures, address the humanitarian needs of ethnic groups along the border, and enhance collaboration among Thailand and other ethnic groups. 56 participants actively participated in the meeting.

The meeting produced 11 recommendations within three thematic topics: humanitarian aid, enhanced engagement, and displaced persons, refugees, and migrants.

The post Recommendations from “Closed Door Workshop on Advancing the Thai-Foreign Policy on Ethnic Groups Along the Thai-Myanmar Border” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/recommendations-from-closed-door-workshop-on-advancing-the-thai-foreign-policy-on-ethnic-groups-along-the-thai-myanmar-border/feed/ 0 9030
The Impact of Conscription Laws In Myanmar (Thai language below) https://pefthailand.org/the-impact-of-conscription-laws-in-myanmar-thai-language-below/ https://pefthailand.org/the-impact-of-conscription-laws-in-myanmar-thai-language-below/#respond Sun, 18 Feb 2024 07:34:47 +0000 https://pefthailand.org/?p=8998 Source: the Irrawaddy The detail of the recently announced Conscription Laws in Myanmar is that this law will have a strong impact on all Myanmar citizens, urging great migration to neighbouring countries currently, Myanmar people have to line up in front of the Thai Embassy every while the Thai Embassy can allow only 400 persons […]

The post The Impact of Conscription Laws In Myanmar (Thai language below) appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
Source: the Irrawaddy

The detail of the recently announced Conscription Laws in Myanmar is that this law will have a strong impact on all Myanmar citizens, urging great migration to neighbouring countries currently, Myanmar people have to line up in front of the Thai Embassy every while the Thai Embassy can allow only 400 persons per day for visa applications.

After the announcement, PDF groups also urge all Myanmar citizens to join PDF troops for Myanmar Liberation.

Let’s come to understand how this law will impact Myanmar people and communities.

ข้อมูลเกี่ยวกับกฎหมารการบังคบเกณฑ์ทหารของรัฐบาลทหารเมียนม่าจะส่งผลถึงประชาชนชาวเมียนม่าทุกคน ซึ่งอาจจะส่งผลถึงการอพยพย้ายถิ่นฐานของประชากรจำนวนมาก ในทุกๆวันนี้จะมีประชากรเมียนม่าต่อแถวขอวีซ่าจำนวนมากที่สถานทูตไทย ในขณะที่สถานทูตไทยสามารถออกวีซ่าได้ให้อย่างจำกัดวันละ 400 คนเพียงเท่านั้น

ภายหลังการประกาศใช้กฎหมายฉบับนี้ กองทัพประชาชนปลดแอค PDF ได้เรียกร้องให้ประชาชนชาวเมียนม่าทุกคนมาเข้าวร่วมรบกับกลองทัพปลดแอคประเทศพม่า

มาร่วมทำความเข้าใจว่ากฎหมายฉบับนี้จะส่งผลต่อประชาชนเมียนม่าอย่างไรบ้าง

#WhathappeninginMyanmar

ภาษาไทย

The post The Impact of Conscription Laws In Myanmar (Thai language below) appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/the-impact-of-conscription-laws-in-myanmar-thai-language-below/feed/ 0 8998
บรรดากลุ่มพันธมิตรทั้ง 3 กลุ่ม และกองทัพ จะทำการหยุดยิง https://pefthailand.org/%e0%b8%9a%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%94%e0%b8%b2%e0%b8%81%e0%b8%a5%e0%b8%b8%e0%b9%88%e0%b8%a1%e0%b8%9e%e0%b8%b1%e0%b8%99%e0%b8%98%e0%b8%a1%e0%b8%b4%e0%b8%95%e0%b8%a3%e0%b8%97%e0%b8%b1%e0%b9%89%e0%b8%87-3/ https://pefthailand.org/%e0%b8%9a%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%94%e0%b8%b2%e0%b8%81%e0%b8%a5%e0%b8%b8%e0%b9%88%e0%b8%a1%e0%b8%9e%e0%b8%b1%e0%b8%99%e0%b8%98%e0%b8%a1%e0%b8%b4%e0%b8%95%e0%b8%a3%e0%b8%97%e0%b8%b1%e0%b9%89%e0%b8%87-3/#respond Thu, 15 Feb 2024 05:26:32 +0000 https://pefthailand.org/?p=8990 (ฐานข้อมูลข่าวพม่าฉบับแปลไทย ฉบับที่ 2) แปลโดย นางสาวพัชรพร เมืองแก่น 12 มกราคม 2024 By The Irrawaddy สำนักข่าวเอยาวดี ได้ตรวจสอบทราบว่า มีการตกลงหยุดยิงระหว่างกลุ่มติดอาวุธชาติพันธุ์ พันธมิตรภาคเหนือทั้ง 3 กลุ่ม และกองทัพสภาทหาร แหล่งข่าวรายงานว่า ในการประชุมหารือกันระหว่างผู้แทนสภาทหารและผู้แทนกลุ่มพันธมิตรทั้ง 3 กลุ่ม ที่เริ่มขึ้นวันที่ 10 มกราคมที่ผ่านมา ณ เมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน ประเทศจีนนั้น มีมติร่วมกันให้มีการหยุดยิงดังกล่าว กองทัพสภาทหาร และกองทัพของกลุ่มพันธมิตรภาคเหนือทั้ง 3 กลุ่ม ได้ตกลงให้หยุดยิง และหยุดชะงักไว้ในพื้นที่ของการหยุดยิง ตามข้อตกลงดังกล่าว กองทัพสภาทหารจะต้องหยุดยั้งการยิงด้วยปืนใหญ่ และการโจมตีทางอากาศ ในขณะเดียวกันทางฝั่งของกลุ่มพันธมิตรทั้ง 3 กลุ่ม ก็จะต้องหยุดยั้งการโจมตียึดเมืองและฐานที่มั่นของทหารด้วยเช่นกัน ในการประชุมหารือดังกล่าว ทางฝั่งของกองทัพทหาร มี พลโท. มิง ไนน์ จากคณะกรรมการเจรจาสันติภาพแห่งชาติ (NSPNC) เป็นผู้นำเข้าร่วมการประชุม ส่วนทางฝั่งของกลุ่มชาติพันธุ์ มีบรรดาเลขานุการของกองทัพสัมพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติเมียนมา […]

The post บรรดากลุ่มพันธมิตรทั้ง 3 กลุ่ม และกองทัพ จะทำการหยุดยิง appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
(ฐานข้อมูลข่าวพม่าฉบับแปลไทย ฉบับที่ 2)

แปลโดย นางสาวพัชรพร เมืองแก่น

12 มกราคม 2024 By The Irrawaddy

สำนักข่าวเอยาวดี ได้ตรวจสอบทราบว่า มีการตกลงหยุดยิงระหว่างกลุ่มติดอาวุธชาติพันธุ์ พันธมิตรภาคเหนือทั้ง 3 กลุ่ม และกองทัพสภาทหาร

แหล่งข่าวรายงานว่า ในการประชุมหารือกันระหว่างผู้แทนสภาทหารและผู้แทนกลุ่มพันธมิตรทั้ง 3 กลุ่ม ที่เริ่มขึ้นวันที่ 10 มกราคมที่ผ่านมา ณ เมืองคุนหมิง มณฑลยูนนาน ประเทศจีนนั้น มีมติร่วมกันให้มีการหยุดยิงดังกล่าว

กองทัพสภาทหาร และกองทัพของกลุ่มพันธมิตรภาคเหนือทั้ง 3 กลุ่ม ได้ตกลงให้หยุดยิง และหยุดชะงักไว้ในพื้นที่ของการหยุดยิง

ตามข้อตกลงดังกล่าว กองทัพสภาทหารจะต้องหยุดยั้งการยิงด้วยปืนใหญ่ และการโจมตีทางอากาศ ในขณะเดียวกันทางฝั่งของกลุ่มพันธมิตรทั้ง 3 กลุ่ม ก็จะต้องหยุดยั้งการโจมตียึดเมืองและฐานที่มั่นของทหารด้วยเช่นกัน

ในการประชุมหารือดังกล่าว ทางฝั่งของกองทัพทหาร มี พลโท. มิง ไนน์ จากคณะกรรมการเจรจาสันติภาพแห่งชาติ (NSPNC) เป็นผู้นำเข้าร่วมการประชุม ส่วนทางฝั่งของกลุ่มชาติพันธุ์ มีบรรดาเลขานุการของกองทัพสัมพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติเมียนมา (กองทัพโกก้าง) (MNDAA) กองทัพตะเอาง์ (TNLA) และ กองทัพอารกัน (AA) เป็นผู้นำเข้าร่วมการประชุม

ฝั่งของประเทศจีนนั้น มีนาย Deng Xijun ผู้แทนพิเศษประจำประเทศพม่า ได้เข้าร่วมในการประชุมหารือในครั้งนี้ด้วย

แหล่งข่าวที่ทราบเกี่ยวกับการประชุมระบุว่า การประชุมหารือ เรื่องการหยุดยิงที่ตัวแทนทั้ง 2 ฝ่าย ได้ลงนามจะมีผลบังคับใช้นับตั้งแต่วันที่ 11 มกราคม เป็นต้นไป

ในการประชุมหารือดังกล่าวนี้ แม้ว่าทั้งสองฝ่ายจะเห็นด้วยเกี่ยวกับการกลับมาเปิดการค้าชายแดนอีกครั้ง  แต่ตัวแทนของจีนและสภาทหาร รวมถึงตัวแทนของพันธมิตรทั้ง 3 กลุ่ม ได้หารือกันเรื่องการเปิดการค้าชายแดนจะเปิดได้ก็ต่อเมื่อมีการหยุดยิงที่แท้จริงเท่านั้น

อ้างอิงจากผู้เกี่ยวข้องใกล้ชิดทราบว่า ทางฝั่งของกลุ่มพันธมิตรทั้ง 3 กลุ่ม ได้ออกประกาศหนึ่งฉบับเกี่ยวกับการประชุมครั้งที่สาม ที่เมืองคุนหมิง


The post บรรดากลุ่มพันธมิตรทั้ง 3 กลุ่ม และกองทัพ จะทำการหยุดยิง appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/%e0%b8%9a%e0%b8%a3%e0%b8%a3%e0%b8%94%e0%b8%b2%e0%b8%81%e0%b8%a5%e0%b8%b8%e0%b9%88%e0%b8%a1%e0%b8%9e%e0%b8%b1%e0%b8%99%e0%b8%98%e0%b8%a1%e0%b8%b4%e0%b8%95%e0%b8%a3%e0%b8%97%e0%b8%b1%e0%b9%89%e0%b8%87-3/feed/ 0 8990
องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติและดัชนีการรับรู้การทุจริต Transparency International (TI) and The Corruption Perceptions Index (CPI) (English Below) https://pefthailand.org/%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%84%e0%b9%8c%e0%b8%81%e0%b8%a3%e0%b9%80%e0%b8%9e%e0%b8%b7%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b9%82%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b9%88%e0%b8%87%e0%b9%83%e0%b8%aa/ https://pefthailand.org/%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%84%e0%b9%8c%e0%b8%81%e0%b8%a3%e0%b9%80%e0%b8%9e%e0%b8%b7%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b9%82%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b9%88%e0%b8%87%e0%b9%83%e0%b8%aa/#respond Mon, 15 Jan 2024 06:17:47 +0000 https://pefthailand.org/?p=8970 องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International: T) และดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) Transparency International (TI) เป็นองค์กรพัฒนาเอกชน ที่มุ่งเน้น การต่อต้านการทุจริตทั่วโลก Tl ก่อตั้งขึ้นในปี 1993 ดำเนินงานในฐานะแนวร่วมต่อต้านการทุจริตระดับโลกซึ่งเกี่ยวข้องกับบทและพันธมิตรในกว่า 100 ประเทศ หนึ่งในความคิดริเริ่มที่สำคัญของ T! คือดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ซึ่งได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่มีอิทธิพลมากที่สุดในการวัดการทุจริตทั่วโลก ดัชนีการรับรู้การทุจริต (CP) เป็นการจัดอันดับประจำปีที่ประเมินระดับการรับรู้ของการทุจริตภาครัฐในประเทศต่างๆทั่วโลก มันให้คะแนนตัวเลขให้กับแต่ละประเทศซึ่งบ่งบอกถึงระดับของการทุจริตที่ผู้เชี่ยวชาญและผู้นำทางธุรกิจรับรู้ ดัชนีราคาผู้บริโภคให้คะแนนประเทศตั้งแต่ 0 ถึง 100 โดยที่ 0 หมายถึงการทุจริตสูงและ 100 หมายถึงสะอาดมาก ดัชนีนี้อ้างอิงจากการสำรวจและการประเมินจากแหล่งต่างๆ รวมถึงนักธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญ และนักวิเคราะห์ที่ประเมินการทุจริตในภาครัฐ วิธีการ CP1 รวบรวมข้อมูล จากหลายแหล่งเพื่อสร้างการประเมินระดับการทุจริตที่ครอบคลุมและเปรียบเทียบได้ แหล่งข้อมูลเหล่านี้รวมถึงสถาบันและองค์กรที่มีชื่อเสียงซึ่งแต่ละแห่งทำการสำรวจอิสระเพื่อรวบรวมการรับรู้ถึงการทุจริตในประเทศต่างๆ จากนั้นองค์กรเพื่อความโปร่งสนานาชาติ (Transparency International) จะรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลนี้เพื่อสร้างการจัดอันดับ CPI จุดแข็งของ CP1 อยู่ที่ความสามารถในการนำเสนอการวัดการรับรู้การทุจริตที่เป็นมาตรฐานและเทียบเคียงได้ในประเทศและภูมิภาคต่างๆ ด้วยการรวมข้อมูลจากแหล่งที่หลากหลาย CP! […]

The post องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติและดัชนีการรับรู้การทุจริต Transparency International (TI) and The Corruption Perceptions Index (CPI) (English Below) appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>

องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติ (Transparency International: T) และดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI)

Transparency International (TI) เป็นองค์กรพัฒนาเอกชน ที่มุ่งเน้น การต่อต้านการทุจริตทั่วโลก Tl ก่อตั้งขึ้นในปี 1993 ดำเนินงานในฐานะแนวร่วมต่อต้านการทุจริตระดับโลกซึ่งเกี่ยวข้องกับบทและพันธมิตรในกว่า 100 ประเทศ หนึ่งในความคิดริเริ่มที่สำคัญของ T! คือดัชนีการรับรู้การทุจริต (CPI) ซึ่งได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางว่าเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่มีอิทธิพลมากที่สุดในการวัดการทุจริตทั่วโลก

ดัชนีการรับรู้การทุจริต (CP) เป็นการจัดอันดับประจำปีที่ประเมินระดับการรับรู้ของการทุจริตภาครัฐในประเทศต่างๆทั่วโลก มันให้คะแนนตัวเลขให้กับแต่ละประเทศซึ่งบ่งบอกถึงระดับของการทุจริตที่ผู้เชี่ยวชาญและผู้นำทางธุรกิจรับรู้ ดัชนีราคาผู้บริโภคให้คะแนนประเทศตั้งแต่ 0 ถึง 100 โดยที่ 0 หมายถึงการทุจริตสูงและ 100 หมายถึงสะอาดมาก ดัชนีนี้อ้างอิงจากการสำรวจและการประเมินจากแหล่งต่างๆ รวมถึงนักธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญ และนักวิเคราะห์ที่ประเมินการทุจริตในภาครัฐ

วิธีการ CP1 รวบรวมข้อมูล จากหลายแหล่งเพื่อสร้างการประเมินระดับการทุจริตที่ครอบคลุมและเปรียบเทียบได้ แหล่งข้อมูลเหล่านี้รวมถึงสถาบันและองค์กรที่มีชื่อเสียงซึ่งแต่ละแห่งทำการสำรวจอิสระเพื่อรวบรวมการรับรู้ถึงการทุจริตในประเทศต่างๆ จากนั้นองค์กรเพื่อความโปร่งสนานาชาติ (Transparency International) จะรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลนี้เพื่อสร้างการจัดอันดับ CPI

จุดแข็งของ CP1 อยู่ที่ความสามารถในการนำเสนอการวัดการรับรู้การทุจริตที่เป็นมาตรฐานและเทียบเคียงได้ในประเทศและภูมิภาคต่างๆ ด้วยการรวมข้อมูลจากแหล่งที่หลากหลาย CP! จะให้ภาพรวมกว้าง ๆ ของแนวโน้มการทุจริตทั่วโลก ผู้กำหนดนโยบาย นักวิจัย และกลุ่มผู้สนับสนุนมักพึ่งพา CPI เพื่อประเมินประสิทธิภาพของความพยายามในการต่อต้านการทุจริต จัดลำดับความสำคัญของการแทรกแซงนโยบาย และจัดสรรทรัพยากรเพื่อจัดการกับความท้าทายด้านการทุจริต

อย่างไรก็ตามสิ่งสำคัญคือต้องทราบว่า CPI มีข้อจำกัด มันวัดการรับรู้ของการทุจริตซึ่งอาจไม่สอดคล้องกับระดับที่แท้จริงของการทุจริตในประเทศ ปัจจัยต่าง ๆ รวมถึงการรายงานข่าวของสื่อวาทกรรมสาธารณะและบรรยากาศทางการเมืองสามารถมีอิทธิพลต่อการรับรู้ นอกจากนี้ CP ไม่ได้รวบรวมกรณีการทุจริตที่เฉพาะเจาะจงหรือความแตกต่างของรูปแบบการทุจริตที่แตกต่างกัน แม้จะมีข้อจำกัดเหล่านี้ แต่ CPI ยังคงเป็นเครื่องมือที่มีค่าในการสร้างความตระหนักเกี่ยวกับปัญหาการทุจริตทั่วโลกและสนับสนุนให้รัฐบาลเพิ่มความโปร่งใสและความรับผิดชอบภายในสถาบันของตน

Transparency International (TI) and The Corruption Perceptions Index (CPI)

Transparency International (TI) is a non-governmental organization combating global corruption. Founded in 1993, TI operates as a global coalition against corruption, involving chapters and partners in more than 100 countries. One of TI’s key initiatives is the Corruption Perceptions Index (CPI), widely recognized as one of the most influential tools for measuring corruption worldwide.

The Corruption Perceptions Index (CPI) is an annual ranking that assesses the perceived levels of public sector corruption in countries worldwide. It provides a numerical score to each country, indicating the degree of corruption perceived by experts and business leaders. The CPI scores countries from 0 to 100, where 0 signifies highly corrupt and 100 represents very clean. The index is based on a combination of surveys and assessments from various sources, including businesspeople, experts, and analysts who evaluate corruption in the public sector.

The CPI methodology aggregates data from multiple sources to create a comprehensive and comparable assessment of corruption levels. These sources include reputable institutions and organizations, each conducting independent surveys to gather perceptions of corruption in different countries. Transparency International then compiles and analyzes this data to create the CPI ranking.

The strength of the CPI lies in its ability to offer a standardized and comparable measure of corruption perceptions across different countries and regions. By amalgamating data from diverse sources, the CPl provides a broad overview of corruption trends globally. Policymakers, researchers, and advocacy groups often rely on the CPI to assess the effectiveness of anti-corruption  efforts, prioritize policy interventions, and allocate resources to address corruption challenges.

However, it is essential to note that the CPI has its limitations. It measures perceptions of corruption, which may not always align with a country’s actual corruption levels. Various factors, including media coverage, public discourse, and political climate can influence perceptions. Additionally, the CPI does not capture specific instances of corruption or the nuances of different corrupt practices. Despite these limitations, the CPI remains a valuable tool for raising awareness about corruption issues globally and encouraging governments to enhance transparency and accountability within their institutions.

The post องค์กรเพื่อความโปร่งใสนานาชาติและดัชนีการรับรู้การทุจริต Transparency International (TI) and The Corruption Perceptions Index (CPI) (English Below) appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%84%e0%b9%8c%e0%b8%81%e0%b8%a3%e0%b9%80%e0%b8%9e%e0%b8%b7%e0%b9%88%e0%b8%ad%e0%b8%84%e0%b8%a7%e0%b8%b2%e0%b8%a1%e0%b9%82%e0%b8%9b%e0%b8%a3%e0%b9%88%e0%b8%87%e0%b9%83%e0%b8%aa/feed/ 0 8970
Education Barriers for Children from Migrant and Refugee Communities in Thailand https://pefthailand.org/education-barriers-for-children-from-migrant-and-refugee-communities-in-thailand/ https://pefthailand.org/education-barriers-for-children-from-migrant-and-refugee-communities-in-thailand/#respond Mon, 08 Jan 2024 02:35:01 +0000 https://pefthailand.org/?p=8953 The post Education Barriers for Children from Migrant and Refugee Communities in Thailand appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
Education-Barriers-for-Children-from-Migrant-and-Refugee-Communities-in-ThailandDownload

The post Education Barriers for Children from Migrant and Refugee Communities in Thailand appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/education-barriers-for-children-from-migrant-and-refugee-communities-in-thailand/feed/ 0 8953
กองทัพพม่าไม่ฟื้นตัวเป็นระยะเวลานานนับเดือน หลังปฏิบัติการ 1027 อัพเดทสถานการณ์ในพม่า (25 ธันวาคม 2023) https://pefthailand.org/%e0%b8%81%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%97%e0%b8%b1%e0%b8%9e%e0%b8%9e%e0%b8%a1%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b9%84%e0%b8%a1%e0%b9%88%e0%b8%9f%e0%b8%b7%e0%b9%89%e0%b8%99%e0%b8%95%e0%b8%b1%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0%b8%9b/ https://pefthailand.org/%e0%b8%81%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%97%e0%b8%b1%e0%b8%9e%e0%b8%9e%e0%b8%a1%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b9%84%e0%b8%a1%e0%b9%88%e0%b8%9f%e0%b8%b7%e0%b9%89%e0%b8%99%e0%b8%95%e0%b8%b1%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0%b8%9b/#respond Mon, 25 Dec 2023 01:00:19 +0000 https://pefthailand.org/?p=8939 (ฐานข้อมูลข่าวพม่าฉบับแปลไทย ฉบับที่ 1)1 ธันวาคม 2023 By The Irrawaddy เป็นเวลาครบรอบเดือน เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน สภาทหารต้องเผชิญหน้ากับความท้าทายครั้งยิ่งใหญ่ที่สุด หลังจากทำการรัฐประหารในปี 2021 ความท้าทายดังกล่าว เป็นยุทธการของกลุ่มปฏิบัติการ 1027 ที่ได้ใช้การศึกโจมตีที่มีการต่อรองที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มต่อต้าน ส่งผลให้สูญเสียกองกำลังสภาทหาร และการควบคุมดินแดนอย่างมากมาย กลุ่มพันธมิตรภาคเหนือประกอบด้วยกองทัพอารกัน (AA) กองทัพตะเอาง์ (TNLA) และกองทัพสัมพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติเมียนมา (กองทัพโกก้าง) (MNDAA) ซึ่งได้รวมตัวกันในปฏิบัติการต่อต้านกองทัพ โดยได้ทำการบุกโจมตีฐานที่มั่นของทหารหลายๆแห่งและเมืองหลายเมืองตั้งแต่ตอนบนของเมืองมัณฑะเลย์ เขตสะกาย รัฐยะไข่ รัฐกะฉิ่น และรัฐฉาน ในตอนนี้ได้มีการดำเนินการในการประสานงานกันของกลุ่มปฏิวัติหลายกลุ่ม ประกอบด้วยกองกำลังพิทักษ์ประชาชน (PDF) ภายใต้รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติ (NUG) กองกำลังคะเรนนี (KNDP) และกองทัพเอกราชกะฉิ่น (KIA) ปัจจุบันการระดมเข้าร่วมกลุ่มปฏิบัติการคาดว่ามีกำลังพลประมาณ 20,000 นาย กลุ่มปฏิบัติการนี้ถือเป็นกองกำลังที่มีประสิทธิภาพและใหญ่ที่สุดในการเข้าโจมตีสภาทหารหลังการรัฐประหาร หลังจากที่กลุ่มพันธมิตรภาคเหนือได้รับชัยชนะหลังเข้ายึดฐานของกองทัพสภาทหารหลายๆ จุดได้ในระยะเวลาอันสั้นนั้น  กลุ่มพันธมิตรภาคเหนือจึงได้รับการสนับสนุนจากประชากรและชาวพม่าทั้งประเทศที่ต้องเผชิญกับปัญหาอุปสรรค ภายใต้การปกครองของกองทัพทหาร ภายในระยะเวลาหนึ่งเดือน พวกเขาได้ยึดครองพื้นที่ทางฝั่งตอนบนของรัฐฉานที่เป็นเส้นทางการค้าสำคัญ จีน – […]

The post กองทัพพม่าไม่ฟื้นตัวเป็นระยะเวลานานนับเดือน หลังปฏิบัติการ 1027 อัพเดทสถานการณ์ในพม่า (25 ธันวาคม 2023) appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>

(ฐานข้อมูลข่าวพม่าฉบับแปลไทย ฉบับที่ 1)
1 ธันวาคม 2023 By The Irrawaddy

เป็นเวลาครบรอบเดือน เมื่อวันที่ 27 พฤศจิกายน สภาทหารต้องเผชิญหน้ากับความท้าทายครั้งยิ่งใหญ่ที่สุด หลังจากทำการรัฐประหารในปี 2021 ความท้าทายดังกล่าว เป็นยุทธการของกลุ่มปฏิบัติการ 1027 ที่ได้ใช้การศึกโจมตีที่มีการต่อรองที่ใหญ่ที่สุดของกลุ่มต่อต้าน ส่งผลให้สูญเสียกองกำลังสภาทหาร และการควบคุมดินแดนอย่างมากมาย กลุ่มพันธมิตรภาคเหนือประกอบด้วยกองทัพอารกัน (AA) กองทัพตะเอาง์ (TNLA) และกองทัพสัมพันธมิตรประชาธิปไตยแห่งชาติเมียนมา (กองทัพโกก้าง) (MNDAA) ซึ่งได้รวมตัวกันในปฏิบัติการต่อต้านกองทัพ โดยได้ทำการบุกโจมตีฐานที่มั่นของทหารหลายๆแห่งและเมืองหลายเมืองตั้งแต่ตอนบนของเมืองมัณฑะเลย์ เขตสะกาย รัฐยะไข่ รัฐกะฉิ่น และรัฐฉาน

ในตอนนี้ได้มีการดำเนินการในการประสานงานกันของกลุ่มปฏิวัติหลายกลุ่ม ประกอบด้วยกองกำลังพิทักษ์ประชาชน (PDF) ภายใต้รัฐบาลเอกภาพแห่งชาติ (NUG) กองกำลังคะเรนนี (KNDP) และกองทัพเอกราชกะฉิ่น (KIA) ปัจจุบันการระดมเข้าร่วมกลุ่มปฏิบัติการคาดว่ามีกำลังพลประมาณ 20,000 นาย กลุ่มปฏิบัติการนี้ถือเป็นกองกำลังที่มีประสิทธิภาพและใหญ่ที่สุดในการเข้าโจมตีสภาทหารหลังการรัฐประหาร

หลังจากที่กลุ่มพันธมิตรภาคเหนือได้รับชัยชนะหลังเข้ายึดฐานของกองทัพสภาทหารหลายๆ จุดได้ในระยะเวลาอันสั้นนั้น  กลุ่มพันธมิตรภาคเหนือจึงได้รับการสนับสนุนจากประชากรและชาวพม่าทั้งประเทศที่ต้องเผชิญกับปัญหาอุปสรรค ภายใต้การปกครองของกองทัพทหาร

ภายในระยะเวลาหนึ่งเดือน พวกเขาได้ยึดครองพื้นที่ทางฝั่งตอนบนของรัฐฉานที่เป็นเส้นทางการค้าสำคัญ จีน – พม่า และฐานของกองทัพ 224 แห่ง รวมทั้ง เมืองอีกจำนวน 7 เมืองจากสภาทหาร ภายหลังการเริ่มปฏิบัติการ บรรดากลุ่มต่อต้านได้ปิดกั้นเส้นทางการค้าสำคัญของประเทศจำนวน 2 เส้นทาง คือ ถนนสายมัณฑะเลย์ – ลาโช – มูแส่ กับ ถนนสายมัณฑะเลย์ – ลาโช – ชิน-ชเว ฮอ ตัดผ่านตอนบนของรัฐฉาน

ในช่วงแรกของการปฏิบัติการ กองกำลังติดอาวุธชาติพันธุ์ได้เข้ายึดศูนย์กลางการค้าชิน-ชเว-ฮอ ติดชายแดนจีน หลังจากนั้น พวกเขาได้ใช้ยุทธวิธีในการเข้ายึดเมืองต่าน์นีที่เป็นยุทธศาสตร์สำคัญ และเป็นเมืองที่บรรจบกันของถนน ลาโช – มูแส่ กับ ลาโช – ชินชเหว่ฮอ กองกำลังชาติพันธุ์ติดอาวุธได้เข้ายึดจินซานเจ้าะ ซึ่งเป็นด่านชายแดนการค้าสำคัญชายแดนจีนที่ตั้งอยู่เมืองมูแส่

หลังจากเสร็จสิ้นการโจมตีกองอำนวยการทหารสำคัญและฐานทหารอีกหลายแห่งเป็นระยะเวลา 12 วัน  ในวันที่ 12 พฤศจิกายน กองกำลังต่อต้านได้เข้ายึดเมืองกูนโลงซึ่งเป็นเมืองยุทธศาสตร์ของกองทัพทหารบนถนนล่าเสี้ยว-ชิน-ชเว-ฮอ ที่เป็นทางเข้าพื้นที่ปกครองตนเองโกก้างหรือที่เรียกว่าเขตพื้นที่พิเศษของรัฐฉานที่ 1 กลุ่มต่อต้านยังคงรวมกำลังเข้ายึดฐานของทหารหลายๆแห่งทางตอนบนของรัฐฉานอย่างต่อเนื่อง ด้านกองทัพทหารได้โจมตีด้วยเครื่องบินรบและปืนใหญ่บ่อยครั้ง แต่ก็ไม่สามารถยึดฐานต่างๆกลับคืนมาได้และไม่สามารถส่งกองทัพเข้ามาช่วยเหลือในพื้นที่ดังกล่าวได้

ในเวลาเดียวกัน กลุ่มต่อต้านเผด็จการ กลุ่มกองกำลังติดอาวุธจำนวนหลายกลุ่ม (EAOs) ร่วมกับกลุ่มปฏิบัติการ 1027 ได้เร่งโจมตีเป้าหมายต่อกองทัพทหารในรัฐชิน กองกำลังต่อต้านต่างๆซึ่งประกอบด้วยกลุ่มต่อต้านชิน รวมถึงกองทัพแห่งชาติชิน (CNA) ที่เป็นกองกำลังติดอาวุธของแนวร่วมแห่งชาติชิน (CNF) ได้เร่งการโจมตีเป้าหมายและค่ายทหารในเมืองผะลันน์และตีเต่งน์ และเมื่อวันที่ 13 พฤศจิกายน ยังเข้ายึดเมืองเรกข่อดาในอำเภอผะลันน์ ชายแดนอินเดียได้อย่างสมบูรณ์ จากนั้นเมื่อวันที่ 24 พฤศจิกายนพวกเขาได้เข้ายึดตั้งแต่เมืองมะตูปี่ ในอำเภอไลลิง์ปี่อีกด้วย

ในช่วงอาทิตย์แรกของเดือนพฤศจิกายน กองกำลังต่าง ๆ ซึ่งประกอบด้วย KIA, AA, PDFs และ กลุ่มกองกำลังต่อต้านชินได้ร่วมกันเข้ายึดครอง ตั้งแต่เมืองก่านแป้ะก์แล้ะก์และกอลิง์ในเขตสะกาย หลังจากการสู้รบกับกองทัพที่ยึดเยื้อหลายวัน

วันที่ 11 พฤศจิกายน กองทัพกะเรนนี (KA), แนวร่วมปลดปล่อยประชาชนแห่งชาติคะเรนนี (KNPLF); กลุ่ม KNDF และ PDF ร่วมกับปฏิบัติการ 1027 ได้ร่วมกันรุกครั้งใหญ่ในปฏิบัติการ 1111 เพื่อต่อต้านสภาทหาร พวกเขาโจมตีและยึดค่ายทหารมากกว่า 20 แห่ง ในอำเภอดีเมาะโซ และเมืองลอยก่อ รัฐกะยา รวมถึงเมืองแผ่โข่งทางตอนใต้ของรัฐฉาน

ในช่วง 10 วันแรกของปฏิบัติการต่อต้าน กำลังพลกองทัพทหารจำนวนกว่า 200 นายและกำลังพลต่อต้านไม่น้อยกว่า 45 คนได้เสียชีวิต ทำให้กองทัพทหารรวมหลายสิบนายได้วางอาวุธยอมจำนนต่อกลุ่มต่อต้านเหตุเพราะแนวร่วมกองกำลังกลุ่มต่อต้านพยายามอย่างหนักเพื่อเข้ายึดเมืองลอยก่อ เมืองหลวงของรัฐกะยา  จึงเกิดการสู้รบกันอย่างรุนแรงและต่อเนื่องภายในรัฐกะยา

ในวันที่ 13 พฤศจิกายน กองทัพ AA ได้โจมตีเป้าทหารทางตอนเหนือของรัฐยะไข่ เหตุการณ์ดังกล่าวจึงถือเป็นเป็นจุดสิ้นสุดของข้อตกลงหยุดยิงที่ได้มติร่วมกันกับกองทัพพม่าเมื่อปีที่ผ่านมา นอกจากนี้กองทัพ AA ได้ประกาศว่า หลังจากโจมตีเข้ายึดฐานทหาร 4 แห่งแล้ว จะเข้ายึดฐานทหารที่กองทัพสละทิ้งและหลบหนีไปด้วยความหวาดกลัวต่อการโจมตีของกลุ่มต่อต้านอีก 40 แห่ง เนื่องด้วย AAพยายามยึดครองเมืองเป้าก์ตอ ที่อยู่ไม่ไกลจากเมืองซิตเตว่อันเป็นเมืองหลวงของรัฐยะไข่ง์ การสู้รบในพื้นที่ดังกล่าวจึงยังคงมีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง

ณ วันที่ 23 พฤศจิกายน สำนักงานเพื่อการประสานงานกิจการด้านมนุษยธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNOCHA) ระบุว่า ผู้คนร่วม 335,000 คนในหลายรัฐและเขตต่าง ๆ ต้องกลายเป็นผู้พลัดถิ่น เนื่องจากหลังวันที่ 26 ตุลาคม เกิดการสู้รบที่รุนแรงขึ้น สำนักงานบรรเทาทุกข์และการทำงานของสหประชาชาติ ได้ระบุว่าเหตุเพราะสงครามและความไม่สงบอันเนื่องด้วยสงครามดังกล่าว ทำให้ชาวบ้านร่วม 200 คนเสียชีวิต และชาวบ้านอีก 263 คนได้รับบาดเจ็บ จำนวนประชาชนที่บาดเจ็บและเสียชีวิตนั้นน่าจะมีจำนวนมากกว่ายอดประกาศอย่างเป็นทางการ เนื่องจากกองทัพทหารได้ใช้ปืนใหญ่และการโจมตีทางอากาศที่เพิ่มขึ้นในรัฐชิน รัฐยะไข่ และตอนเหนือของรัฐฉาน

นับตั้งแต่วันที่ 27 ตุลาคมเป็นต้นมา มีการคาดการณ์ว่าทหารของกองทัพรวมแล้วกว่า 100 นายได้เสียชีวิตจากการสู้รบที่รุนแรงของกลุ่มต่อต้าน หลังจากได้ข่าวทหารและสมาชิกในครอบครัวมากกว่า 200 นาย รวมถึงกองพันทหารกว่า 500 นาย ต้องวางอาวุธต่อกองกำลังต่อต้าน หรือออกจากฐานของพวกเขา เนื่องจากการสู้รบของกลุ่มต่อต้านได้เพิ่มและได้เริ่มกระจายไปทั่วทั้งประเทศ กองทัพทหารจึงได้เรียกกองกำลังทหารกว่า 14,000 นาย รวมถึงหน่วยคอมมาโด 4,000 นาย เพื่อป้องกันกองอำนวยการในเมืองเนปีดอว์ ซึ่งเป็นที่นายพลและครอบครัวของพวกเขาอาศัยอยู่ เจ้าหน้าที่ของรัฐจากเมืองเนปีดอว์ได้รับคำสั่งให้จัดตั้งยามกองทัพและให้เปลี่ยนการป้องกันของค่ายทหารและค่ายตำรวจที่มีป้อมปราการที่แข็งแกร่งเพื่อใช้ในกรณีฉุกเฉิน


หลังการรัฐประหารในปี 2021 นอกจากกลุ่มต่อต้านที่รุนแรงแล้ว สภาทหารยังคงถูกโจมตีบ่อยครั้งจาก PDFs และ EAOs ในทุกรัฐ และเขตต่าง ๆ ของประเทศ นอกจากเขตอิระวดี จากการประเมินผลกระทบของกลุ่มปฏิบัติการต่อต้านและต่อสู้กับสภาทหารอย่างดุเดือด ปะโด่ ซอตอนี โฆษกสหภาพแห่งชาติกะเหรี่ยง (KNU) ซึ่งเป็นกองกำลังติดอาวุธชาติพันธุ์ที่เก่าแก่ที่สุดในประเทศ กล่าวว่า ตั้งแต่การรัฐประหารในปี 2021  “การปฏิวัติของประชาชนหลังจากปฏิบัติการ 1027 ได้เริ่มต้นก่อตัวขึ้นจากการปฏิวัติของประชาชน ก็ได้รับแรงผลักดันเรื่อยมา นี่แสดงให้เห็นถึงจุดจบของสภาทหาร”

พวกเขายังได้กล่าวอีกว่า “สภาทหาร กำลังจะสูญพันธ์”

เว็ปไซต์ต้นทางภาษาอังกฤษ https://www.irrawaddy.com/news/war-against-the-junta/myanmar-junta-continues-to-suffer-defeats-a-month-into-operation-1027.html “Myanmar Junta Continues to Suffer Defeats a Month into Operation 1027” (Irrawaddy)

The post กองทัพพม่าไม่ฟื้นตัวเป็นระยะเวลานานนับเดือน หลังปฏิบัติการ 1027 อัพเดทสถานการณ์ในพม่า (25 ธันวาคม 2023) appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/%e0%b8%81%e0%b8%ad%e0%b8%87%e0%b8%97%e0%b8%b1%e0%b8%9e%e0%b8%9e%e0%b8%a1%e0%b9%88%e0%b8%b2%e0%b9%84%e0%b8%a1%e0%b9%88%e0%b8%9f%e0%b8%b7%e0%b9%89%e0%b8%99%e0%b8%95%e0%b8%b1%e0%b8%a7%e0%b9%80%e0%b8%9b/feed/ 0 8939
การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 3 “AICHR คณะกรรมมาธิการระหว่างอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน” https://pefthailand.org/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%95%e0%b8%b9%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%b4%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b8%b4%e0%b8%a1%e0%b8%99%e0%b8%b8%e0%b8%a9%e0%b8%a2%e0%b8%8a%e0%b8%99-%e0%b8%95%e0%b8%ad-2/ https://pefthailand.org/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%95%e0%b8%b9%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%b4%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b8%b4%e0%b8%a1%e0%b8%99%e0%b8%b8%e0%b8%a9%e0%b8%a2%e0%b8%8a%e0%b8%99-%e0%b8%95%e0%b8%ad-2/#respond Sun, 17 Dec 2023 15:21:34 +0000 https://pefthailand.org/?p=8929 มารู้จัก AICHR (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights) หรือคณะกรรมาธิการระหว่างอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน นอกจากการก่อตั้งความร่วมมือระดับรัฐบาลในอาเซียนแล้ว ตามกฎบัตรอาเซียนยังมีข้อตกลงในการก่อตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนระดับอาเซียนขึ้นมา โดยจุดประสงค์เพื่อทำงานรณรงค์และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนระดับอาเซียน AICHR ทำงานอย่างไร? มีบทบาทอย่างไร? มารู้จัก AICHR ผ่านการ์ตูนสิทธิมนุษยชนตอนที่ 3 “AICHR คณะกรรมาธิการระหว่างอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน” #AICHR #PEF #peoplesempowermentfoundation #มูลนิธิศักยภาพชุมชน อาเซียนนั้นถูกก่อตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อปี 1967 โดยเริ่มก่อตั้งในประเทศไทย ณ วังสราญรมย์ เริ่มก่อตั้งโดยห้าประเทศสมาชิกที่สำคัญ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์ โดยมีจุดประสงค์สำคัญคือการสร้างความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การศึกษาและศาสตร์ต่างๆ รวมถึงการสร้างสันติภาพและความมั่นคง      ในช่วงแรกอาเซียนจะมีการประชุมกันเฉพาะช่วงเวลาที่จำเป็นหรือเวลาที่เกิดข้อขัดแย้งระหว่างกัน ไม่มีการประชุมประจำปีจะเจอกันเป็นครั้งคราวเท่านั้น บทบาทของเซียนในช่วงแรกนี้คือการลดความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลในภูมิภาค หลังจากอาเซียนเดินทางมาได้กว่า 41 ปี ก็ได้มีการตกลงเขียนรัฐธรรมนูญของอาเซียนขึ้น เรียกว่า “กฎบัตรอาเซียน” (ASEAN Charter) เป็นการกำหนดถึงอำนาจของรัฐในการทำงานระดับอาเซียน สิ่งสำคัญคือทำให้เกิดความร่วมมือระหว่างรัฐบาล การกำหนดให้มีการประชุมอาเซียนทุกปีในหลายๆระดับ […]

The post การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 3 “AICHR คณะกรรมมาธิการระหว่างอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
มารู้จัก AICHR (ASEAN Intergovernmental Commission on Human Rights) หรือคณะกรรมาธิการระหว่างอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน นอกจากการก่อตั้งความร่วมมือระดับรัฐบาลในอาเซียนแล้ว ตามกฎบัตรอาเซียนยังมีข้อตกลงในการก่อตั้งสถาบันสิทธิมนุษยชนระดับอาเซียนขึ้นมา โดยจุดประสงค์เพื่อทำงานรณรงค์และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนระดับอาเซียน

AICHR ทำงานอย่างไร? มีบทบาทอย่างไร? มารู้จัก AICHR ผ่านการ์ตูนสิทธิมนุษยชนตอนที่ 3 “AICHR คณะกรรมาธิการระหว่างอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน”

#AICHR #PEF #peoplesempowermentfoundation #มูลนิธิศักยภาพชุมชน

อาเซียนนั้นถูกก่อตั้งอย่างเป็นทางการเมื่อปี 1967 โดยเริ่มก่อตั้งในประเทศไทย ณ วังสราญรมย์ เริ่มก่อตั้งโดยห้าประเทศสมาชิกที่สำคัญ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์และสิงคโปร์

โดยมีจุดประสงค์สำคัญคือการสร้างความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การศึกษาและศาสตร์ต่างๆ รวมถึงการสร้างสันติภาพและความมั่นคง     

ในช่วงแรกอาเซียนจะมีการประชุมกันเฉพาะช่วงเวลาที่จำเป็นหรือเวลาที่เกิดข้อขัดแย้งระหว่างกัน ไม่มีการประชุมประจำปีจะเจอกันเป็นครั้งคราวเท่านั้น บทบาทของเซียนในช่วงแรกนี้คือการลดความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลในภูมิภาค

หลังจากอาเซียนเดินทางมาได้กว่า 41 ปี ก็ได้มีการตกลงเขียนรัฐธรรมนูญของอาเซียนขึ้น เรียกว่า “กฎบัตรอาเซียน” (ASEAN Charter) เป็นการกำหนดถึงอำนาจของรัฐในการทำงานระดับอาเซียน สิ่งสำคัญคือทำให้เกิดความร่วมมือระหว่างรัฐบาล การกำหนดให้มีการประชุมอาเซียนทุกปีในหลายๆระดับ อย่างไรก็ดีปัญหาของอาเซียนคือการไม่มีกลไกรัฐสภาและกลไกศาล

มาตรา 14 ของกฎบัตรอาเซียนมีการกำหนดว่าต้องมีสถาบันสิทธิมนุษยชนระดับภูมิภาค เพื่อทำหน้าที่ให้การรณรงค์และคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในอาเซียน

หลังจากการก่อตั้ง AICHR ขึ้นมาแล้ว ก็ได้มีการกำหนด TOR เพื่อระบุถึงขอบเขตการทำงานของ AICHR อย่างชัดเจน แต่อย่างไรก็ดียังมีปัญหาในการทำงานขับเคลื่อนสิทธิฯหลายอย่าง เช่นการคุ้มครองสิทธิ รวมถึงหากภาคประชาชนจะทำงานกับ AICHR ก็ต้องทำการลงทะเบียนและให้ได้รับการยอมรับจาก AICHR ก่อน ในการที่จะทำงานร่วมกัน AICHR

AICHR คือระบบตัวแทนที่แต่งตั้งโดยรัฐ มาเพื่อทำงานขับเคลื่อนประเด็นสิทธิมนุษยชนในระดับภูมิภาค

ตั้งแต่ก่อตั้ง AICHR ในปี 2009 จนถึงปี 2021 ประเทศไทยมีตัวแทน AICHR มาแล้วทั้งหมด 3 คนใน 5 วาระ ได้แก่ ดร.ศรีประภา เพชรมีศรี (1 วาระ) ดร.เสรี นนทสูติ (2 วาระ) และอาจารย์อมรา พงศาพิชญ์ (2 วาระ)

ในแต่ละประเทศจะมีกระบวนการคัดเลือกที่แตกต่างกันไป ในส่วนของประเทศกระบวนการคัดเลือกตัวแทน AICHR กระทรวงการต่างประเทศจะแต่งตั้งคณะกรรมการสรรหาเพื่อคัดเลือกผู้แทนไทย ประกอบด้วยผู้แทนจากภาครัฐ นักวิชาการ ภาคประชาสังคม และสื่อมวลชน จำนวน 9 คน เพื่อร่วมกันกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ และคัดเลือกผู้แทนไทยฯ

โดยสรุป AICHR นั้นถูกแต่งตั้งตามกฎบัตรของอาเซียนในปี 2008 เป็นกลไกที่แต่ละรัฐบาลในอาเซียนจะแต่งตั้งตัวแทนมาเพื่อทำงานขับเคลื่อนสิทธิมนุษยชน โดย AICHR ยังมีข้อจำกัดในการสร้างกระบวนการคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ผลงานส่วนใหญ่จะเป็นการจัดประชุมสัมมนาและการจัดฝึกอบรมเรื่องสิทธิมนุษยชน

The post การ์ตูนสิทธิมนุษยชน ตอนที่ 3 “AICHR คณะกรรมมาธิการระหว่างอาเซียนว่าด้วยสิทธิมนุษยชน” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/%e0%b8%81%e0%b8%b2%e0%b8%a3%e0%b9%8c%e0%b8%95%e0%b8%b9%e0%b8%99%e0%b8%aa%e0%b8%b4%e0%b8%97%e0%b8%98%e0%b8%b4%e0%b8%a1%e0%b8%99%e0%b8%b8%e0%b8%a9%e0%b8%a2%e0%b8%8a%e0%b8%99-%e0%b8%95%e0%b8%ad-2/feed/ 0 8929
Human Rights Cartoon Series Chapter 2 “International Human Rights Treaty Bodies” https://pefthailand.org/human-rights-cartoon-series-chapter-2-international-human-rights-treaty-bodies/ https://pefthailand.org/human-rights-cartoon-series-chapter-2-international-human-rights-treaty-bodies/#respond Sun, 05 Nov 2023 06:38:52 +0000 https://pefthailand.org/?p=7779 Human Rights Cartoon series chapter 2 “International Human Rights Treaty Bodies” All over the world, there are a lot of international treaties and conventions. Does anyone know how many human rights treaties exist? We, as global citizens and each government can participate with those treaties? The People Empowerment Foundation invites everyone to study together with […]

The post Human Rights Cartoon Series Chapter 2 “International Human Rights Treaty Bodies” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
Human Rights Cartoon series chapter 2 “International Human Rights Treaty Bodies”

All over the world, there are a lot of international treaties and conventions. Does anyone know how many human rights treaties exist? We, as global citizens and each government can participate with those treaties?

The People Empowerment Foundation invites everyone to study together with us through the cartoon series in Chapter 2, The International Human Rights Treaties.

#PEF #peoplesempowermentfoundation #มูลนิธิศักยภาพชุมชน

What is a treaty?
A treaty is an agreement, signed contract, or document for a formal international document that contains “binding” practice that must be implemented by each government. The general nature of treaty can be divided into two main periods: The first period: before the establishment of the United Nations (UN): Most treaties during this period contained issues of war, colonization, and territorial possession, taking advantage of political power and exploiting national resources between countries.

After establishing the UN, many treaties have been created to promote peace following the principles of the United Nations Charter.

How many human rights conventions do we currently have?
The answer is “9 treaties”. However, some human rights treaties also have additional documents known as “Optional Protocols”, which are supplementary to each Convention.

For example, The International Covenant on Civil and Political Rights in 1976 was additionally accompanied by the First Optional Protocol, allowing citizens to submit complain directly to the Human Rights Committees if there is a violation of human rights by the state (Thailand did not sign). Later, there was a second Optional Protocol containing content about abolishing the death penalty (Thailand did not also sign it). Therefore, there are relatively three civil rights treaties in total.

1. International Covenant on Civil and Political Rights 1976 (Thailand signed)
2. First Optional Protocol International Covenant on Civil and Political Rights 1976 (Submission of complaints directly to the Human Rights Committees) (Thailand has not signed)
3. Second Optional Protocol International Covenant on Civil and Political Rights 1991 (Abolition of the Death Penalty) (Thailand has not signed it)

Tip
International Convention on the Elimination of All Forms of Racial Discrimination = CERD
International Covenant on Civil and Political Rights = ICCPR
International Covenant on Economic, Social and Cultural Rights = ICESCR
Convention on the Elimination of All Forms of Discrimination against Women = CEDAW
Convention against Torture and Other Cruel, Inhuman or Degrading Treatment or Punishment = CAT
Convention on the Rights of the Child = CRC
International Convention on the Protection of the Rights of All Migrant Workers and Members of their Families = ICMRW
Convention on the Rights of Persons with Disabilities = CRPD 
International Convention for the Protection of all Persons from Enforced Disappearance = ICPPED

The review process among treaties will be similar, but not all are the same.
The process can be recognized into 5 steps

1. Report preparation steps
2. Prepare to enter the review process.
3. Report consideration (review)
4. Summary of recommendations (Concluding Observation)
5. Implementation of recommendations

The general civil societies can also submit a parallel report (Shadow Report) to the Treaty Committees. Then, the Treaties Committees can consider raising the civil society’s concerns to the government while considering the report.

Table comparing the similarities and differences of the nine conventions.

Table of signing treaties by ASEAN governments (Information at the end of 2022)

There are three characteristics of the approval process for human rights treaties.

1. Signature: expresses the intention to become a party to the treaties, and the government implicitly requests time to go back and review national laws and conditions within the country before ratifying.

2. Ratification: is to be a party to the convention, and it is necessary to enter the review process of the treaty committees.

3. Accession: is the step that goes to ratification immediately.

In addition to reviewing, the Treaty Committees can issue “General Comments” to all state parties for guidance to be implemented in the country and enable state parties to achieve the objectives of the treaties.

In summary, human rights treaties are international agreements that aim to advance human rights in specific areas of each treaty. Its treaties also have a monitoring mechanism by the Treaties Committees. When a government ratifies a convention, it is bound by the treaties and is subject to under-review mechanisms.

There are currently nine major human rights conventions, and the civil society can submit parallel reports to the treaty committees.

The People’s Empowerment Foundation invites anyone interested to submit a report to the treaty committee to be part of the mechanism for developing human rights together.

If anyone wants to learn more or organize training at any level, please contact the People’s Empowerment Foundation via the foundation’s message

The post Human Rights Cartoon Series Chapter 2 “International Human Rights Treaty Bodies” appeared first on People’s Empowerment Foundation.

]]>
https://pefthailand.org/human-rights-cartoon-series-chapter-2-international-human-rights-treaty-bodies/feed/ 0 7779